กราฟพื้นฐาน |
- Primary trend เทรนระยะยาว
- Intermediate trend เทรนระยะกลาง
- short trend trend เทรนระยะสั้น
มัน คือ วัฏจักรของคลืนทั่วไปที่พบเห็นได้
รูปนี้ คือ วัฏจักร ของธุกิจก็รูปแบบเดียวกันนะ
สรุป คลื่นที่เราเห็น ก็รูปแบบปกติ ที่เกิดขึ้นทั่วไป คลื่นที่เราเห้นใน fx มันก็คือ ทั่วไปที่เกิดขึ้นเหมือนกับ อย่างอื่น มันเป็น วัฏจักร ของคลื่นทั่วไปที่เอามา อธิบาย เป็นรูปแบบให้เห็นได้
จุดซื้อและขาย
ซื้อที่ตำแหน่งของคลื่น 2 และ short ที่ตำแหน่งที่ 5 ที่ต้องซื้อที่ cycle 2 เพราะมันเป็นต้นเทรนของขาขึ้นและ มันเปลี่ยนเป้นขาขึ้นแล้ว ที่ต้อง short ที่ cycle 5 ก็เพราะ มันเป้นต้นเทรนของฝั่งลง และมันเปลี่ยนเทรนเป็นขาลงแล้ว
วัฏจักร มี 4 cycle ตามรูป
- sw
- ขาขึ้น
- sw บน
- ขาลง
ต่อไปเลยนะครับ จะขยายคลื่นเข้าไปอีก
dow + elliott wave |
อันนี้ จะเขียนวัฏจักร ตาม ทฤษฏีของแต่ละคน ตามที่เขาเห็น down และ elliott wave ถ้าสังเกตุ ตำแหน่งของ ตัวเลขและคลื่น จะตรงกัน เปลียนจากการเขียนเป็น cycle เป็นอธิบายเพิ่มตัวเลข และ ลำดับการวิ่งขึ้นลง
ข้อสังเกตุ
ในต้นเทรนขาขึ้น จะมีการย่อก่อนเสมอ เราจึงเห็นตำแหน่งของคลื่น 2 ซึ่งเป็นจุดเข้าที่ดีที่สุดในขาขึ้น จุดนี้ เราต้องเฝ้า และหาจังหวะเข้าให้ได้ เพื่อกินคำใหญ่
อธิบายการเกิดคลื่นในแต่ละคลื่น
เมื่อเกิดคลื่น 2 แล้วก็จะเกิดคลื่น 3 ตามมาซึ่งปกติ คลื่น 3 จะเป็นคลื่นที่ยาวที่สุดของขาขึ้นนะ แล้วก็ย่อ sub แรงขายเป็นคลื่น 4 ตามภาพ แล้วก็วิ่งขึ้นคลื่น 5 ซึ่งเป็นขาสุท้ายของขาขึ้น จะเกิดที่ปลายเทรนของขาขึ้น หลังจากนั้นก็จะชนแนวต้าน ซึ่งพี่เรียกว่า แนว supply นะที่มีปริมาณของแรงขายจำนวนมาก เมื่อแรงซื้อขึ้นมาชนแที่แนวต้านนี้ แล้วต้านแรงขายไม่ไหว ก็จะเกิดการเปลี่ยนเทรนกลายเป็นขาลง การลงครั้งแรก นักลงทุนยังไม่รู้ว่ามันเปลี่ยนเทรนแล้ว ก็จะเข้ามา ซื้อ เพราะมองว่ามันแค่ ย่อเท่านั้น ก็เลยเกิด การลงเรียกว่า คลื่น a จะลงสั้นๆเพราะจะมีแรงซื้อเข้ารับตลอด แต่เมื่อมนัขึ้นไปชนแนวต้าน หรือ sw อยู่ แล้วมีแรงขายออกมาจำนวนมาก คนส่วนใหญ่ก็คัท ทิ้งและเริ่มเห็นแล้วว่ามันเปลี่ยนเทรนเป็นขาลงแล้ว ตรงส่วนเด้งขึ้นนี้ เรียกว่า ขา B เมื่อชนแนวต้าน ก็จะมีแรงขายจำนวนมากออกมาอีก กดราคาลงทะลุแนวรับ กลายเป็นขา C ที่มีความยาวมากกว่า 2 ขาก่อน ครบแล้ว เป็น 1 cycle
หมายเหตุ
ปกติขา c ในฝั่งลงจะมีความยาวมากว่า ขา a และ b
Elliott wave |
ต่อมานี้คือ รายละเอียดของ คลื่นที่เกิดและคำอธิบาย ของแต่ละคลื่น นี้คือ 1 cycle ในมุมของ elliott wave
ภาพของ elliott wave ในกราฟ day 1 cycle |
นี้คือรูปที่เล็กที่สุดของ wave
ใน sw เราจะเห็นรูปที่ 1 คือขึ้นละลงเท่ากัน
รูปที่ 2 เราจะเห็นการยือของคลื่นในกราฟขาลง
รูปที่ 3 เราจะเห็นการยือของคลื่นในกราฟขาขึ้น
กราฟขึ้น หรือ ลง คลื่นจะยืดออกและยาวไปทางนั้น คลื่นที่เราเห็น ถ้ายืดขึ้นก็คือ เปลี่ยนเป็นเทรนขาขึ้น ถ้ายืดในฝั่งลง ก็จะเปลี่ยนเทรนเป็นฝั่งลง
ตำแหน่งที่เปิด S และ L ที่ดีที่สุด |
ต่อมานี้คือ เข้าสถานะ ไม่ว่าฝั่งขึ้น หรือ ลง จะเรียกว่า เปิดสถานะที่คลื่น 2 เสมอ
เพราะ ถ้าเอากราฟ fx มากลับหัวตำแหน่งการเปิดสถานะจะเป็นจุดเดียวกัน ตำแหน่งพวกนี้มันจะเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ใน 1 cycle จะเกิดแบบเดิมเสมอแล้วเอามาต่อกัน
ภาพนี้เป็นการกลับตัวใช่ไหม
ภาพนี้เห็นอะไรไหม เอาภาพเดิมมากลับหัวจเห็นตำแหน่ง เปิดสถานะตำแหน่งเดียวกัน
เอาภาพเดิมมากลับหัวเพื่อ จะให้ดูตำแหน่งของจุด s จะเป้นตำแหน่งเดียวกับคลื่น 2 ในภาพปกติ
หมายเหตุ
หน้าเทรดไม่ว่าขึ้น หรือ ลงจะเปิดสถานะที่ตำแหน่งเดียวกัน คือ คลืน 2 ในฝั่งขึ้น แต่จะเป็น ขา B ในฝั่งลง
เอากราฟมาแยกคลื่น ฝั่งลงจะเห็นคลื่นที่ประกอบด้วย 1 cycle จำนวน 8 ลูกมาต่อกันเป็นขาลง ก่อนจะเกิดการกลับตัวแล้ว ก็ สรา้งขาขึ้นใหม่
ในขาลง คลื่นที่มาต่อกัน จะยืดฝั่งลง เราจึงเห็นว่า high จะต่ำลงเรื่อยๆ และ low ยืดออกทำให้ low ก็ต่ำลงไปเรื่อยๆเช่นกัน มันจะเอาคลื่นที่ยืดฝั่งลงออก มาต่อกันตามภาพเลย
กราฟ 5 นาที |
เอารูปมาให้ดู ว่าก่อนจะขาลงมันต้องผ่าน ชุด sw มาก่อน แล้วจะค่อยยืดขาฝั่งลงออก จนกลายเป้นขาลงเต็มตัว เอากราฟ 5 นาทีมาดูเป็น t/f เล็กสุดที่พี่เอาไว้ดูคลื่นย่อย ใน คลื่นใหญ่
รูปนี้ เป็นการอธิบาย การทำ abc เพื่อจบและ เพื่อขึ้นต่อ ถ้ายังไม่จบ จะเกิด abc สั้นๆ ลงมาติดแนวรับ แล้วกลับตัวขึ้นต่อเลย จะลงยาวเพราะ เป็นขึ้นมาชนมาชนแนวต้าน สำคัญมีแรงขายออกมาหลังจาก ชนแนวรับที่มี demand เพียงก็จะกลับตัวขึ้นเลย ถ้าลง abc แล้วขึ้นต่อ แสดงว่ายังไม่จบขาขึ้น มันกำลังทำคลื่นยืดของฝั่งขึ้นอยู่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น