หน้าเว็บ

วันอังคาร, มิถุนายน 30, 2563

Tfex 29-06-20 ว่าด้วย indicator

จังหวะเปิดกระโดดลงของ TFEX ในวันที่ 29-06-20
  
 รูปที่ 1.  สังเกตุภาพรวมของ indicator ยังบอกว่าอยู่ในเทรนของขาลงอยู่เพราะ
  • กราฟ 1 นาที วิ่งขึ้นครบคลื่นถึงแนวต้านสำคัญของ H1
  • กราฟ 5 นาที วิ่งขึ้นกำลังทำปลายคลื่น 5 แต่ติดแนวต้านของ H1 อยู่ใกล้ เส้น 50 ของ RSI
  • กราฟ 15 นาที ขึ้นทำคลื่น 3 แล้วย่อ 4 ลึกจังหวะเด้งขึ้นเพื่อทำคลื่น 5 ติดแนวต้าน RSI ใกล้ 50 
  • กราฟ H1 RSI ยังอยู่ในโซนของขาลง เพราะยังไม่ทะลุ 50 จังหวะขึ้นทำคลื่น 5 ทพลุแนวต้านไม่ได้

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที

 รูปที่ 2. หลังจากเปิด gap โดดลงมาแล้วชนแนวรับของ H1 ก็ทำการเกิดการเด้งขึ้นจาก demand ของ H1
  • macd ใน 1 นาทีจะวิ่งขึ้นทะลุ 0 ขึ้นไปได้ และ RSI ก็ทะลุ 50 ขึ้นได้เช่นกัน
  • macd ใน 5 นาทีเพิ่งทำแท่ฃเขียวแท่งแรก แต่ RSI ทะลุ 20 ชน 30 แล้ว
  • macd ใน 15 นาทียังจะเห็นการกลับตัวแท่งแรก RSI ชนแนวรับแลเด้งขึ้นยังไม่ตัด เส้น SMA 9
  • macd ใน H1 กำลังลงทะลุ 0 ถ้าทะลุเกิด macd สีแดง    

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


รูปที่ 3. เด้งขึ้นชนแนวต้านสำคัญของ H1 เกิดการ sub แรงขายออกมาเพื่อเลือกที่จะขึ้น หรือ ลงต่อ
จุดสังเกตุที่ตำแหน่งนี้
  • กราฟ 1 นาที คลื่นขึ้นมาครบ 5 คลื่นแล้วชนแนวต้านระดับ H1 เกิดการย่อตัวเพื่อ sub แรงขาย
  • กราฟ 5 นาที เกิดคลื่น 3 และกำลังย่อ 4 อยู่
  • กราฟ 15 นาที เป้นการเด้งขึ้นในกราฟ 5 นาที และ 1 นาที เทรนยังไม่เปลี่ยน
  • กราฟ H1 เป็นจังหวะเด้งขึ้นจากการลงมาชนแนวรับสำคัญของ H1

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


รูปที่ 4.เป็นจังหวะของการ sub แรงขายเสร็จแล้ว และเริ่มจะเปลี่ยนเทรน มีจุดสังเกตุดังนี้
  • กราฟ 1 นาที เห็นการทำคลื่น 1 ย่อ 2 ที่แนวรับไม่หลุดลงมา RSI ยืนบนเส้น 50 
  • กราฟ 5 นาที เกิดการทำ double bottom แล้ว RSI ตัดเส้น SMA 9 แล้วยืนได้
  • กราฟ 15 นาที RSI ยืนบนเส้น 30 และตัด เส้น SMA 9 ขึ้นไปได้
  • กราฟ H1 เห็นการเด้งขึ้นที่แนวรับของ dow ขาขึ้นยังไม่หลุดเป้น dow ขาลง

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


รูปที่ 5.จังหวะเด้งขึ้นจาก T/F เล็กไป T/F ใหญ่โดยมีจุดเปลี่ยนดังนี้
  • กราฟ 1 นาที เกิดการบีบตัวที่แนวต้าน และยืนบนแนวรับของจุดเปลี่ยนเทรนได้ RSI วิ่งขึ้นและยืนบนเส้น 50 กลายเป็นขาขึ้นต่อไปได้
  • กราฟ 5 นาที เส้น RSI ตัด SMA 9 ขึ้นไปได้และยืนบนเส้น 50 ได้ไม่ sideway sub แรงขายไม่หลุดลงมา
  • กราฟ 15 นาที macd เกิดแท่งเขียวต่อเนื่อง RSI ชนเส้น SMA 9 แล้ววิ่งขึ้น SAM กลายเป็นแนวรับไปและทะลุเส้น 50 ขึ้นมาได้
  • กราฟ H1macd เกิดสัญญาณ bullish divergence ที่แนวรับสำคัญของฝั่งขาขึ้น  

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


รูปที่ 5.เกิดการเปิดกระโดดของเช้าอังคารที่ 30 มิถุนายน เป็นการสร้างคลื่น 3 ในกราฟ H1 

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที






วันศุกร์, มิถุนายน 26, 2563

TFEX จุดกลับตัว 25-06-20

สังเกตุจุดกลับตัวจากสัญญาณต่างๆ ที่กราฟส่งออกมา
  1. นับคลื่นจาก T/F 1 นาทีให้ครบก่อนถึงจะเริ่มเห็นการกลับตัว
  2. ต้องเกิด dow ขาขึ้นในกราฟ 5 นาที โดยที่กราฟต้องขึ้นมายืนบนแนวต้านให้ได้ก่อน
  3. T/F 15 นาที indicator เริ่มกลับตัวขึ้น
  4. กราฟ H1 ลงมาชนแนวรับสำคัญ
จังหวะกลับตัว จากสัญญาณจาก indicator
  • ต้องเห็นสัญญาณการกลับตัวจาก T/F เล็กส่งไปที่ T/F ใหญ่ก่อน
  • ใช้ T/F  5 นาทีในการดูสัญญาณการกลับตัว บวก กับ 15 นาทีเป็นหลัก
  • สัญญาณตัวเร็วต้องยืนอยู่สัญญาณตัวที่ช้ากว่า จังจะเกิดสัญญาณการเปลี่ยนเทรน
เงื่อนไขการกลับตัวจาก RSI
  • กราฟ 1 นาที RSI ต้องยืนบนเส้น 50 ให้ได้
  • กราฟ 5 นาที RSI ต้องยืนเส้น 20 แล้วขึ้นตัด เส้น 30
  • กราฟ 15 นาที RSI ต้องยืนบนเส้น ช้า และขึ้นตัด เส้น 20 
ส่วนของการนับคลื่น
  • นับคลื่นในกราฟ 1 นาทีให้ลงครบซะก่อน
  • กราฟ 5 นาที เมื่อลงขา 3ต้องให้เด้งขา 1,2 เปลี่ยนเป็นขาขึ้นก่อน
  • กราฟ 15 นาทีเป็นจังการเด้งขึ้นของคลื่น 4
การดูลักษณะการทำ dow theory
  • low จากกราฟ 1 นาทีต้องเริ่มยกขึ้นเมื่อลงครบคลื่นแล้ว นั้นคือต้องเห็นการทำ คลื่น 1 ย่อ 2 
  •  กราฟ 5 นาที ต้องขึ้นทะลุแนวต้านก่อนหน้าซะก่อน ถ้าไม่ทะลุมันอาจจะลงต่อจากเด้งขึ้นที่ยังลงไม่ครบคลื่น
  • ถ้ากราฟ 5 นาที ขึ้นมายืนบนแนวต้านได้เมื่อไร แนวต้านก็เปลี่ยนจะเป็นรับ แล้วกราฟก็จะเริ่มทำ dow ขาขึ้นต่อไปได้
ตัวอย่างกราฟ 4 T/F ในจังหวะของการเปลี่ยนเทรน

รูปที่ 1 เริ่มเห็นสัญญาณการกลับตัว
  • ในรูปกราฟลงมาจุดเด้ง และลักษณะของกราฟ ก็กำลังจะเปลี่ยนเทรน เป็นเด้งขึ้น
  • แต่ยังติดแนวต้านของ dow ขาลงอยู่ต้องทำการ sub แรงขาย หรือ ลงต่อให้ครบคลื่นซะก่อน

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


รูปที่ 2 กลับตัวที่ตำแหน่งแนวรับของ H1 

เมื่อมีแรงซื้อจำนวนมาก ดันราคาขึ้นมาติดแนวต้านของ dow ขาลง ต่อไปก็จะเป็นการเลือกทิศทางต่อว่าจะไปทางไหน มี 2 ทางเลือกคือ
  1. ขึ้นต่อ 
  2. เปลี่ยนเป็นขาลง 
สังเกตุพฤติกรรมของกราฟ ผ่านแรงซื้อและแรงขาย
  1. ขึ้นทะลุแนวต้านของ dow ขาลงและยืนบนแนวต้านให้ได้
  2. เมื่อ T/F 1 นาทีเด้งขึ้นครบแล้วไม่สามารถ break แนวต้านได้ มันก็จะมีแรงขายออกมาแล้วลงต่อ
  3. เมื่อลงมาชนแนวต้านสำคัญของ H1 ก็มีแรงซื้อจากแนว demand นี้ดันราคาขึ้นทะลุแนวต้านของ dow ขาลงได้และยืนบนแนวต้านได้ 
  4. ในจุดแนวรับนี้ จะสังเกตุแท่งเทียนได้ว่าขึ้นเร็วและแรงมาก เป็นลักษณะของจุดกลับตัวใน T/F ใหญ่ๆ ซึ่งสามารถเอามาเป็นจุดกลับตัวแล้วเข้าเกร็งกำไรใน T/F เล็กๆได้
  5. กราฟ 5 นาทีจะเห็นการ sub แรงขายที่แนวรับ เมื่อ sub เสร็จก็ขึ้นต่อได้   


กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 


รูปที่ 3
ลักษระของการขึ้นมาชนแนวต้าน แรงซื้อหมดแรง แรงขายมากกว่า ก็จะเห็นการ พักตัวตามแนวรับ แล้วเกิดการ sub แรวขายถ้าที่แนวรับนี้ sub แรงขายได้และไม่หลุด มันก็จะเปลี่ยนเป็นขาขึ้นต่อไปได้

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 

รูป ที่ 4 
ลักษณะการกลับตัวของกราฟ Forex สังเกตุจาก indicator RSI
  • กราฟ 1 นาทีขึ้นทะลุเส้น 50 แล้วยืนได้ไม่หลุด
  • กราฟ 5 นาที วิ่งขึ้นจาก เส้น 20 ทะลุ เส้น 30 ได้
  • กราฟ 15 นาที่ ขึ้นทะลุเส้น 20 ได้

Forex คู่ USD/JPY


วันพุธ, มิถุนายน 24, 2563

usd/jpy สัญญาณกลับตัว ใน T/F เล็ก

สัญญาณการกลับตัวจาก คู่เงิน USD/JPY
จากรูปเป็นกราฟ T/F H1 จุดสังกตุ 
  • จะเห็นว่าเกิดการบีบตัวระหว่างแนวต้านและแนวรับ
  • กราฟจะวิ่ง sideway ในแนวต้านและแนวรับของ H1 เป็นการ sub แรงขาย
  • เมื่อถึงจุดที่กราฟ เริ่ม sub แรงขายเสร็จก็จะเห็นทรงกราฟเริ่มยืนได้และเริ่มเลือกทาง

กราฟ T/F H1


กราฟ 15 นาที
นับคลื่นการขึ้นชนแนวต้านและไม่สามารถทะลุแนวต้านได้ คลื่นที่วิ่งก็ขึ้นครบแล้ว กราฟก็จะมีแรงขายออกมาและ เกิดช่วงของการ sub แรงขายถ้า sub แล้วก็จะเห็น pattern ของกราฟ ต่อว่ากราฟจะวิ่งไปทางไหน

กราฟ 15 นาที

กราฟ 5 นาที
นับคลื่นย่อยจะเห็น cycle ในการเคลื่อนที่ของกราฟ 5 นาทีจำนวนหลาย cycle จึงเป็นที่มาของคำกล่าวที่ว่า " T/F เล็กจะเป็นส่วนประกอบของ T/F ใหญ่เสมอ ถ้าเราสามารถเห็นได้ "  

กราฟ 5 นาที

กราฟ 1 นาที
สิ่งที่อธิบายในรูป คือ 
  • นับ cycle ย่อยใน T/F 1 นาทีได้ 4 cycle 
  • หาตำแหน่งของจุดเปลี่ยนเทรน
  • จาก RSI
  • จาก MACD

กราฟ 1 นาที

รูปกราฟ 4 T/F เพื่อดูรายละเอียดของการทำ sub แรงขายแล้วทำ  dow ขาลง
  • จังหวะการเปลี่ยนเทรนเป็นขาลงจากการชนแนวต้าน และคลื่นฝั่งขึ้นขึ้นครบแล้ว
  •  เมื่อขึ้นครบฝั่งขึ้นแล้วไม่ผ่านแนวต้าน ก็จะเกิดแรงขายออกมาและเกิดช่วงของการ sub แรงขาย
  • ถ้า sub แล้วเกิด dow ขาลงกราฟก็จะเปลี่ยนเป็นขาลง
  • ถ้า sub แล้ว sub หมดแล้วไม่เกิด dow ขาลงแต่เป็นการ sub แรงขายของขาขึ้นกราฟก็จะขึ้นต่อ

กราฟ 4 T/F

รายละเอียดของการเปลี่ยนเทรนเป็นเด้งขึ้น
  • กราฟ 1 นาที ลงครบ 5 คลื่นและชนแนวรับของ H1 เกิดการทำ ขา 1,2 ทีแนวรับ
  • กราฟ 5 นาที เกิดสัญญาณการเปลี่ยนเทรน
  • กราฟ 15 นาที ก็เกิดสัญญาณการเปลี่ยนเทรน
  • กราฟ 1,515 นาทีเกิดสัญญาณการเปลี่ยนพร้อมกัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนเป็นการเด้งขึ้นชั่วคราวได้

กราฟ การเปลี่ยนเทรน 4 T/F





วันจันทร์, มิถุนายน 22, 2563

Tfex 22-06-20 สัญญาณการเด้งขึ้นจาก T/F เล็ก

สังเกตุจุดเปลี่ยนเทรนจาก T/F 1,5,15 
  • จาก T/F H1 ลงมาชนแนวรับสำคัญ เป็นจุดที่น่าจะ เด้งขึ้นชั่วคร่าวได้
  • กราฟ 1 นาทีให้สัญญาณเปลี่ยนเทรนจากการสร้าง ขา 1,2 ใช้ MACD ช่วย confirm
  • กราฟ 5 นาที ลงมาชนแนวรับแล้ว Histrogram และ เส้น MACD ตัด signal line ขึ้นมาพร้อมกันเป็นสัญญาณการเปลี่ยนเทรน

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1


สัญญาณเปลี่ยนเทรนเกิดจาก MACD จาก T/F 1 นาทีและเป็นจุดเปลี่ยนเทรนในกราฟ 5 ด้วยกราฟจึงกลับเป็นขาขึ้นต่อ และ RSI ใน T/F 15 นาทีก็ comfirm ว่าจะขึ้นเหมือนกัน

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1


ภาพการเคลื่อนที่ของคลื่น ในขณะเปลี่ยนเทรนจาก 4 T/F 

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1



คลื่น 2 ช่วงกลับตัว หรือ เด้ง 4 ลง 5

คลื่น 2 ในกราฟ T/F เล็กจะเห็นจุดกลับตัวหลาย pattern ด้วยกัน

กราฟ Forex

USD/JPY


กราฟ หุ้น set 50 T/F 1 นาที

S50M20

กราฟ หุ้น set 50 T/F 5 นาที

S50M20

จังหวะกลับตัวของ set 50 ใน T/F ใหญ่ เพื่อทำคลื่น 2

เมื่อกราฟลงมาที่แนวรับที่มี demand เพียงพอที่จะกลับตัวได้ ก็จะเห็นอาการของกราฟจะ swing ขึ้นลงในกรอบราคา เป็นลักษณะของการ sub แรงขาย

ช่วงแรก จะเป็นแรงซื้อที่เข้ามาดันราคาขึ้นไปชนแนวต้านแล้วก็มีแรงขายออกมาดันราคาลงเมื่อแรงซื้อยังไม่หมด ก็ดันราคาขึ้นอีก

ครั้งที่สอง ขึ้นไปที่แนวต้านเหมือนเดิม แต่แรงขายก็ยังไม่หมดดันราคาลงมาอีก แต่ถ้าสังเกตุ จะเห็นว่า low เริ่มยกขึ้นไม่ลงที่ low เดิม บ่งบอกว่าแรงซื้อเริ่มมีมากกว่าแรงขาย และแรงซื้อก็ดันราคาขึ้นไปอีก

ครั้งที่สาม แรงซื้อเริ่มดันราคาขึ้นแล้วเริ่มยืนได้เบรคแนวต้านขึ้นไปเรื่อยๆ และแรงขายเริ่มน้อยลงและเบรคแนวต้านได้ในครั้งนี้เปลี่ยนเป็นขาขึ้น



นับคลื่น set ปัจจุบัน
  • จาก T/F 15 นาที จะเห็นว่า set sideway เพื่อที่จะขึ้นทำคลื่น 5 ขาสุดท้ายอยู่ที่แนวต้าน
  • ใน T/F 5 นาที ทำคลื่น 3 ต้องย่อ 4 และขึ้นคลื่น 5 ที่แนวต้าน 909 



นับคลื่นใหญ่ช่วยวิเคราะห์คลื่น
  • ใช้ T/F H4 ในการนับคลื่นช่วยนับเป็นคลื่นการเด้งขา 4 เหลือ ขา 5 
  • ใน T/F H1 จะเห็นว่ากราฟขึ้นมาชนแนวต้านแล้วยังไม่ผ่าน เหมือนจะติดแนวต้านของ H1 อยู่ยังไม่เปลี่ยนเทรนเป้นขาขึ้น
สรุปว่า 

ยังมีโอกาสลงทำคลื่น 5 เพราะ ว่ากราฟ H1 ยังไม่เปลี่ยนเทรนและลักษณะการเด้งของกราฟที่ติดแนวต้านแบบนี้ เป็นลักษระของกราฟที่แรงซื้อดันราคาขึ้นในช่วฃแรก แต่ช่วงท้ายเหมือนจะเเริ่มหมดแรงเพราะ high
เริ่มเตี้ยลงเรื่อยๆ 



เด้งขึ้นทำคลื่น 4 แล้วลงทำคลื่น 5 ใน forex

จากรูปใน T/F H4 จะเป็นลักษณะของการเด้งของขา 4 มีข้อสังเกตุดังนี้
  • เด้งขึ้นคลื่น 3 แล้วติดแนวต้านทะลุไม่ได้ออกข้างย่อ 4 แล้วเด้ง 5 ก็ไม่สามารถทะลุแนวต้านได้
  • ลงมาแล้วเด้งขึ้นเลย ไม่มีการ sub แรงขายเพื่อกลับตัวก่อน

USD/JPY 4 T/F H1, H4, day , week

ภาพกราฟ ปัจจุบัน
ใน T/F เล็กกำลังเด้ง sub แรงขายอยู่ ขยายคลื่นจาก H1 ลงไป ที่ 1 นาทีกราฟยังไม่เลือกทางเพราะยังไม่หลุดแนวรับและ swing ในกรอบ แต่ในกราฟ H1 ยังวิ่งอยู่ในโซนของขาลงอยู่

USD/JPY 4 T/F






วันเสาร์, มิถุนายน 20, 2563

หาจังหวะเด้ง เพื่อเกร็งกำไร ในหุ้น

หาจังหวะเด้งในกราฟหุ้น KTC

หุ้น KTC ลงแรง มาหลายวัน เมื่อไปดูคลื่นใน T/F H1 บวกกับ H4 แล้วเห้นว่าลงมาเป็นขา 4 จะต้องเด้งขึ้นที่แนว demand ก่อน เลือกทางจาก pattern ที่เกิดขึ้น จึงสรุปเป็นข้อสังเกตุได้ดังนี้
  • หาจุดเด้งจาก T/F ที่ใหญ่กว่า H1
  • หาแนว demand ที่มีปริมาณเพียงพอที่จะเป็นจุดเด้งได้
  • นับคลื่นให้อยู่ในจังหวะที่พร้อมจะเด้ง
  • หาจุดเข้าใน T/F ที่เล็กกว่า T/F H1 เช่น 5 นาที หรือ 15 นาที
  • ดูจังหวะการเข้าสถานะ ให้สอดคล้องกับ การ sub แรงขาย
  • ใช้ Indy ช่วยในการอ่านคลื่นเพื่อให้ง่ายต่อการหาจังหวะเข้า

จากรูปกราฟ หุ้น KTC 
จังหวะเข้าเป้นจังของการลงมาที่แนวรับ 30.25 แล้วเกิดการเด้งขึ้นสร้างคลื่น 1 และ 2 เป็นจังหวะเข้าสถานะที่ดี จากการลงมาที่แนวรับแล้วไม่หลุด จบเป็นขา 3 แล้วไม่ลงต่อ แต่ทำ pattern ของขา 1 ย่อ 2 เพื่อเปลี่ยนเป็นขาขึ้นจากแนว demand เป็นจังหวะเข้าเพราะมีแรงซื้อจากแนว demand สำคัญเพียงพอที่จะทำกำไรได้ในระยะสั้นๆ  

ภาพการนับคลื่นในกราฟ 5 นาที


รูปภาพที่ 2 นับคลื่นใน T/F 5 นาที
นับคลื่นใน T/F 5 และ 15 นาที เพื่อดูคลื่นและจุดขาย
  • จากรูปนับเป็นคลื่น 1 ย่อ 2 แล้วเด้งขึ้น
  • ชนแนวต้านทำคลื่น 3 แล้ว sideway ออกข้างยืนบนแนวรับได้ สร้างคลื่น 4
  • กราฟ 15 นาที บอกว่าสอดคล้องกับ กราฟ 5 นาที คือ เด้งขึ้น RSI ทะลุเส้น 50 และ MACD ทะลุเส้น 0 ขึ้นมายืน และ sub แรงขายแล้วไม่หลุดแนวรับ และพยายามเด้งขึ้นช่วง้ทายเพื่อจะสร้างคลื่น 5 ต่อไป

ภาพกราฟ 4 T/F 5,15,60,240 นาที

นับคลื่นต่อจากรูปที่ 3
  • กราฟ 5 นาทียัง sideway ออกข้างยังไม่เลือกทาง บีบตัวในกรอบ
  • กราฟ 5 นาทีวิ่งขึ้นทำคลื่น 1 และกำลังจะทะลุแนวต้านเพื่อทำคลื่น 3 ต่อไป
  • ถ้ากราฟ 5 นาทีทะลุแนวต้านไม่ได้ ก็จะมีแรงขายออกมากดราคาลงมาที่แนวรับ
  • ถ้ามีแรงขายออกมาแล้วไม่หลุดแนวรับ 31.25 หรือหลุดแล้วดึงกลับ ก็จะ sideway ในกรอบก่อนจะวิ่งขึ้นใหม่อีกครั้ง

กราฟ 4 T/F 5,15,60,240 นาที





วันศุกร์, มิถุนายน 19, 2563

นับคลื่นด้วย MACD


ภาพกราฟ set 50 ลงชนแนวรับแล้วกลับตัวขึ้น จะมาว่าด้วยเรื่องการดู สัญญาณจาก MACD

ข้อสังเกตุที่ควรจดจำเกี่ยวกับ MACD
  • ถ้า Histrogram ของ MACD ตัด 0 ขึ้นเกิดแท่งเขียว แสดงว่ากราฟเป็นจะทำฝั่งขึ้น
  • ถ้า Histrogram ของ MACD ตัด 0 ลงและเป็นแท่งแดงแสดงว่ากราฟจะทำฝั่งลง
  • ถ้า Histrogram ตัด 0 ลงก็กราฟยังเป็นขาขึ้นอยู่
  • ถ้า Histrogram ตัด 0 ขึ้นกราฟก็ยังเป็นขาลงอยู่
  • MACD เป็น indicator ประเภท lacking คือ จะให้สัญญาณที่ช้า indicator ตัวอื่น

อธิบายจากรูป
  • กราฟ 1 นาที MACD วิ่งขึ้นด้วยการทำคลื่น 3 อยู่เป็นการกลับตัวแบบ ตัว V ขึ้นเร็วและแรง
  • กราฟ 5 นาที MACD ยังไม่ให้สัญญาณซื้อเลย
  • กราฟ 15 นาที MACD ยังไม่วิ่งขึ้นหาเส้น 0 เลย
  • กราฟ H1 บอกว่ากราฟแค่ย่อ และจะเด้งขึ้นเพราะเส้น MACD ยังไม่ตัด Signal line  

กราฟ set 50 S50M20 4 T/F


ภาพที่ 2 นับคลื่นด้วย MACD 4 T/F 
    
คลื่นใน T/F จะเป็นเพียงคลื่นย่อยใน T/F ที่ใหญ่กว่าเสมอ ในรูปจะเห็นว่า กราฟ 1 นาที กำลังขึ้นครบ 5 คลื่น แต่ในกราฟ 5 นาที เพิ่งทำคลื่น 2 เท่านั้น

กราฟ set 50 S50M20 4 T/F


นับคลื่นด้วย MACD ในกราฟ 1 นาที จำนวน 1 cycle

USD/JPY 4 T/F



จากรูปจะเห็นว่าใน 1 รอบคลื่นของ T/F เล็กมันจะกลายเป็นคลื่น 2 ใน T/F ถัดไปที่ใหญ่กว่าเสมอ 

USD/JPY 4 T/F


จุดสังเกตุการนับคลื่นจาก MACD

ในรูปจะเห็นการทำคลื่นของ MACD 1 cycle ใน T/F เล็กจะกลายเป็น 1 คลื่นใน T/F ใหญ่และถ้าจะขึ้นต่อมันจะกลายเป็นคลื่น 1,2 ใน T/F ถัดไปเสมอ

USD/JPY 4 T/F





วันพฤหัสบดี, มิถุนายน 18, 2563

USD/JPY ลักษณะของขาลง


วิเคราะห์จากภาพใหญ่ T/F H4 ลงมา

นับคลื่นจากขาลง ชนแนวรับนับเป้นคลื่น 3 และเด้งคลื่น 4 ตรงนี้ต้องดูการทำ pattern ต่อว่าจะสร้าง เป็น pattern อะไร แบ่ง pattern ออกได้ 2 แบบ ดังนี้
  1. pattern ขาขึ้น คือ
          ขึ้นขา 1 ย่อ 2  low ยก เป็น pattern ของขาขึ้น
       
      2. pattern ขาลง คือ
          
          ขึ้นด้วยคลื่นย่อย ติดแนวต้านแล้วขึ้นต่อไม่ด้ เมื่อขึ้นครบคลื่นแล้ว หรือ หมดแรงซื้อแล้วก็จะเกิด                                                            pattern ฝั่งลงและเปลี่ยนเป็นขาลงในที่สุด


T/F H4

สรุปจากรูป
  • เกิด pattern ขาลงโดยเกิดการบีบอัดช่วงท้าย เพื่อทีจะเลือกทาง แต่แรงซื้อหมด และกราฟยังอยู่ในฝั่งขาลง กราฟ เลยลงต่อด้วยคลื่น 5 ใน T/F H4  

นับคลื่นย่อย ใน T/F H1 สรุปเป็นช่วงได้ 3 ช่วง

       ช่วงที่ 1 ทำคลื่น 3
  • จากรูปจะเห็นการนับคลื่นใน T/F H1 ว่าช่วงแรกจะมีแรงซื้อเข้ามาดันราคาขึ้นไปที่แนวต้านสำคัญ แต่ไม่สามารถทะลุแนวต้านได้แล้วเกิดการย่อ เรียกช่วงนี้ว่า ช่วงของการทำคลื่น 3 
     ช่วงที่ 2 ทำ คลื่น 5
  • เมื่อลงมาที่แนวรับครั้งแรก มักจะมีแรงซื้อรับไว้และไม่หลุดแนวรับ เด้งขึ้นต่อได้ เรียกช่วงนี้ว่าคลื่น ย่อ 4 แล้วขึ้น คลื่น 5
    ช่วงที่ 3 ทำ abc ขาลง
  • เมื่อจบคลื่น 5 แล้วผ่านแนวต้านไม่ได้ จะเห็นว่าจะแรงขายเริ่มได้เปรียบ ฝั่งขาย volume เริ่มมากกว่าฝั่งซื้อ และกราฟเริ่มทำ high เตี้ยลงเด้งขึ้นไม่ผ่านแนวต้าน เป็นการสร้างฐานของขาลง ในช่วงนี้จะเห็นเมื่อกราฟขึ้นไปที่แนวต้านจะมีแรงขายออกมาแล้วกราฟกลับตัวลงทันที แสดงว่าแรงขายเริ่มมีอิทธิพลเหนือแรงซื้อแล้ว กราฟก็จะเริ่มสร้างเทรนของขาลง และก็เปลี่ยนเป็นขาลงไปที่แนวรับสำคัญ ถ้าลงมาที่แนวรับแล้วเเด้งไม่ผ่านแนวต้านก็จะเกิด dow ของขาลงเปลี่ยนเป็นขาลงเต็มตัว 



ขยายภาพจุดเปลี่ยนเทรนจาก 4 T/F 
จากรูปเป็นการขยายลักษณะของการส่งสัญญาณขาลงออกมาจากกราฟมีจุดสังเกตุดังนี้
  • ติดแนวต้านในฝั่งขึ้น
  • กราฟเริ่มสร้างฐานของขาลง
  • กราฟ H1 เริ่มมีแรงขายออกมามากกว่าแรงซื้อ กราฟเริ่มเปลี่ยนจากขึ้นเป็นลงจากอาการของกราฟที่วิ่งขึ้นชนแนวต้านของ H1 แล้วมีแรงขายออกมาทันทียืนด้านบนไม่ได้
  • กราฟ H4 ยังเป็นอยู่ในเทรน ขาลงอยู่ 

 รูปที่ 1. การดูตำแหน่งของการเปลี่ยนเทรน จาก กราฟ และ RSI เชื่อมโยงกัน 

กราฟ 1,5,15,H1 นาที


รูปที่ 2. ตำแหน่งของการเปลี่ยนเทรนของขาลงจากการอ่านสัญญาณจาก  indicator " RSI "

กราฟ 1,5,15,H1 นาที



คลื่น 2 ที่ไปต่อ


ลักษณะของการทำคลื่น 2 ที่สมบูรณ์ และเกิดการสรา้งคลื่น 3 ต่อ
 
หุ้น BEC

กราฟ 4 T/F 5,15,H1,H4

หุ้น PTG

กราฟ 4 T/F 5,15,H1,H4

หุ้น ERW

กราฟ 4 T/F 5,15,H1,H4



วันอังคาร, มิถุนายน 16, 2563

Pattern การกลับตัวของกราฟหลักๆมี 3 แบบ จุดกลับตัวจึงมีหลายแบบด้วย

แบบที่ 1 กลับตัวแบบตัว V
ข้อสังเกตุการกลับตัวแบบนี้
  • มีแรงขายออกมาเยอะลงแรงและยาวไปที่แนวรับสำคัญ
  • RSI ทะลุเส้น 30 ลงไปที่เส้น 20
  • ต้องใช้แนวรับระดับ T/F ใหญ่ๆในการหยุดการลง
  • การเด้งขึ้นแบบตัว V แนวต้านจะอยู่สูงขึ้นไป ไม่มีแนวต้านสำคัญอยู่ใกล้ๆ
  • เกิดแรงซื้อ จำนวนมากที่แนวรับสำคัญทำให่เกิดแท่งเทียนสีเขียว หลายแท่งติดต่อกัน

แบบตัว V


แบบที่ 2 กลับตัวแบบตัว W ยก high ยก low ขึ้น ช่วงแรงขายหมด
ข้อสังเกตุ
  • ลงมาที่แนวรับแ้ลวมีแนวต้านอยู่ใกล้ๆ
  • กราฟยังมีแรงขายมากกว่าแรงซื้อในช่วงแรก ชนแนวรับแล้วก็ลง เพราะแรงขาย
  • ลงมาที่แนวรับไม่หลุด sideway sub แรงขายเมืื่อแรงขายเริ่มหมดก็เริ่มทำ dow ขาขึ้น
  • มักจะเกิดในช่วง sw และบีบตัวในกรอบเพื่อเลือกทาง

กลับตัวแบบตัว W หรือ doubottom


ลงแบบ dow ขาลงไปที่แนวรับแล้ว ติดแนวรับสำคัญ แล้วกลับตัว
ข้อสังเกตุ
  • เกิดการ sub แรงขายที่แนวรับสำคัญ
  • เกิด flat ชนแนวต้าน 1-2 ครั้ง
  • ชนแนวรับแล้วเด้งขึ้นตลอดไม่หลุด
  • การลงของแรงขายสั้นลงเรื่อยๆและกลับตัวที่แนวรับสำคัญ

เกิด dow ขาลงไปที่แนวรับแล้วกลับตัว




วันเสาร์, มิถุนายน 13, 2563

มองกราฟทางขวามือ ผ่านแนวรับและแนวต้าน

มุมมองกราฟ ในแบบของพรานล่าหุ้น จะมองจากซ้ายไปขวาผ่าน 
  • กราฟแท่งเทียน
  • indy RSI
  • indy MACD
  • เชื่อม T/F จากใหญ่ลงมาเล็ก
เพื่อหาความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกัน ที่จับต้องได้ แล้วเอามาวิเคราะห์หาทิศทางของกราฟ เพื่อหา จุดเปลี่ยนเทรน เพราะจุดเปลี่ยนเทรนจะนำพาสู่จุดเปิดสถานะที่ดี ไม่เล่นกับการคาดเดา หรือ ความไม่เข้าใจ เพราะมันจะทำให้ เปิดโอกาส ให้ความเสียหายเข้ามาหาตัวเราง่ายขึ้น

ตัวอย่างกราฟฝั่งลง

กราฟ TFEX S50M20 นับคลื่นฝั่งลงจาก 
  • T/F 1 นาทีลงขา 3 ชนแนวรับแล้วเด้งขา 4 
  • T/F 5 นาทีนับลงได้ขา 4 เหลือ ขา 5    



กราฟ TFEX เปิด gap โดดลงนับคลื่นใน T/F 1 นาที
  • กราฟ 1 นาที คลื่นขาลงครบ 5 ขาแล้วชนแนวรับระดับ H1
  • กราฟ 5 นาที นับคลื่นลงมาชนแนวรับเป้นขา 3 เด้ง 4 อยู่รอจบว่า ทำขา 1 ย่อ 2 ที่แนวรับ หรือ ทำคลื่นต่อฝั่งลงด้วย ยืดขา 5 ออก 
 



นับคลื่นย่อยในกราฟ 1 นาที และ 5 นาที ว่ากราฟจะทำ pattern ไหนระหว่าง
  • จบขาลง และะทำขา 1,2  
  • ชนแนวรับเด้ง 4 และ ยืดขา 5 ออก
ข้อสรุป 
 Pattern ของกราฟ กราฟทำ ขา 1,2 ตามรูป  

ต่อไปจะเขียนบรรยายฝั่งขาขึ้น

รูปที่ 1

Pattern ของขา 1 และ 2


 รูปที่ 2
 ขยาย กราฟ 1 นาที เชื่อมกับ 5 นาที ลงมาชนแนวรับ ของกราฟ 1 นาทีแล้วเกิดการกลับตัวที่แนวรับ



รูปที่ 3
กราฟกระโดดเปิด gap ขึ้นเป็นสัญญาณของการเปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้น แสดงว่าคลื่นที่กราฟสร้างเป็นการทำขา 1,2 และกราฟเปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้น แต่ยังอยู่ในโซนของการ sub แรงขายจากกราฟ 15 นาที



รูปที่ 4
กราฟชนแนวต้านระดับ 5 นาทีและ 15 นาที มีแรงขายออกมาลงมาที่แนวรับ แล้วเด้งกลับตัว ทำขา 1,2 เริ่มสร้าง dow ขาขึ้นยก low ขึ้นเป็นจังหวะของการเปลี่ยนเทรนของฝั่งขาขึ้น เป็ยชุดเด้งในกราฟ 5 และ 15 นาทีเท่านั้น กราฟ H1 ยังไม่ผ่านแนวต้านต้องดู การขึ้นชนแนวต้านถัดไป และ แรงขายที่ขายออกมา บวกกับ pattern ที่เกิดขึ้นต่อไป

T/F 1 และ 5 นาที อ่านภาพเลื่อนไปทางขวามือ ผ่านแนวรับและแนวต้าน