หน้าเว็บ

วันเสาร์, พฤศจิกายน 28, 2563

ความแตกต่างของ sw คลื่น 2 และ คลื่น 4

 ข้อสังเกตุของ sideway คลื่น 2 ขาขึ้น และ คลื่น 4 ขาลง

 sideway คลื่น 2

  • เทรนก่อนหน้าเริ่มเปลี่ยนเป็นขาขึ้นมาก่อนแล้ว
  • ติดแนวต้านเดียวกัน
  • ชนแนวต้านก่อนหน้า แล้วย่อ sub แรงขายลงมาที่แนวรับ ที่ยกตัวขึ้ยเกิดการทำ dow ขาขึ้นไปที่แนวต้าน
  • indicator เกิดการทำคลื่น 2 เพื่อยืดคลื่น 3 

BEC กลับตัวเป็นขาขึ้น กราฟ day


ข้อสังเกตุของ sideway คลื่น 4 
  • เทรนก่อนหน้าเป็นขาลงมาก่อน
  • high ต่ำลงเรื่อยๆ เป็นลักษณะของการทำ dow ขาลง
  • ติดแนวรับสำคัญ เกิด sideway ขนาดใหญ่ที่แนวรับนี้
  • เกิดการทำ dow ขาลงมาที่แนวรับใหม่แล้ว มี demand ซื้อเข้ามา
  • แรงซื้อจากแนว demand เด้งขึ้นแต่ก็ยังติดแนวต้านของ dow ขาลงอยู่
  • เกิดการ sideway ในกรอบบีบตัวเพื่อเลือกทาง แต่ก็ยังอยู่ใต้แนวต้านของขาลงอยู่
  • indicator บอกสถานะว่า ยังไม่สามรถยืนบนแนวต้านของจุดกลับตัวได้   

AWC วิ่ง sideway ในกรอบบีบตัว แล้วลงต่อในกราฟ day 



วันพุธ, พฤศจิกายน 11, 2563

เลือกใช้ T/F ให้เหมาะสมกับ ช่วงของกราฟ

 ในบ้างครั้งเราต้องรู้ว่า ข้อดี ข้อเสีย ของ การใช้ กราฟ time frame เดียวมันมีอะไรบ้าง เพราะปกติกราฟจะเปลี่ยนเป็นขาขึ้นหรือได้ T/F เล็กก็จะเริ่มเปลี่ยนเทรนก่อน แต่ถ้าไม่สอดคล้องกับ T/F ใหญ่ก็ต้องไปดูที่แนวต้านของ T/F ใหญ่ว่า T/F เล็กจะทะลุได้ไหม ถ้าทะลุไม่ได้ เทรนก็จะเปลี่ยนตามเทรนของ T/F ตามเทรนปกติฉะนั้น ถ้าใช้ T/F เข้ามาช่วยในการเชื่อม T/F ต้องรู้ว่าช่วงไหนจะใช้ T/F ไหน เชื่อม กับ T/F ไหนบ้าง ไม่งั้นเวลาในการดูการเปลี่ยนเทรน อาจจะถูกหลอกจากกราฟได้ หรือ เห็นจุดเปลี่ยนเทรนไม่ชัดเจนทำให้การเข้า order ผิดพลาดไป

ภาพตัวอย่างกราฟ TFEX 

  • ใช้ 3 T/F ในการเชื่อมแต่มองเห็นจุดเปลี่ยนเทรนไม่ชัด
  • ใช้ 5,15,H1 จังหวะเด้งขึ้นจากแนวรับ มองไม่เห็นจังหวะการทำ คลื่น 1,2 
  • ทำให้จังหวะเข้าอาจมองผิดพลาดไป
  • เมื่อเข้าไปดูใน T/F 1 นาที ก็จะเห็นการทำ 1,2 ชัดเจน เป็นจุดเปลี่ยนเทรนที่ดี
  • แต่เมื่อนำเชื่อม T/F กับ กราฟ 5 และ 15 นาทีพบว่าไม่สอดคล้องกัน
พอสรุปได้ว่า
  • เมื่อกราฟใหญ่ลงมาที่แนวรับจะมีการเด้งขึ้นจากแรงของ demand 
  • ในT/F เล็กจะเห็นการทำคลื่นชุดขาขึ้นก่อน T/F ใหญ่
  • แต่ต้องดูว่าการเปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้นนั้น สอดคล้องกับ T/F ใหญ่ไหม 
  • เพราะถ้าไม่สอดคล้องกับ T/F ใหญ่แสดงว่า อาจะเป็นแค่การเด้งขึ้นของชุด T/F เล็กเท่านั้น
  • เมื่อขึ้นมาชนแนวต้านของ T/F ใหญ่แล้วไม่ผ่าน ก็จะเคลื่อนที่ไปตาม คลื่นของ T/F ใหญ่
  • ฉะนั้น เมื่อ T/F เล็กและ T/F ใหญ่ถ้าขัดแย้งกัน 
  • ควรจะเชื่อ T/F ใหญ่ก่อนเพราะ T/F ใหญ่ก็เป้นส่วนประกอบในคลื่นของ T/F ใหญ่กว่าอีกที่หนึ่ง
  • ถ้าเรามองการเปลี่ยนเทรนของ T/F เล็กแล้วมันจะขึ้นเลย ยังสรุปไม่ได้ถ้า T/F เล็กไม่สอดคล้องกับ T/F ที่ใหญ่กว่า

กราฟ 5,15,H1

สรุปว่าคลื่นใน T/F เล็กอาจจะเป็นชุดเด้งขึ้นเท่านั้น ยังไม่เป็นเทรน ถ้าไม่สอดคล้องกับ T/F ใหญ่  

ใช้กราฟ 1 นาทีเข้ามาช่วยในการดูจุดเปลี่ยนเทรน

  • จะเห็นการทำคลื่น 1 และ 2 ชัดเจนในกราฟ 1 นาที
  • ทำให้หาจุดเปลี่ยนเทรนได้ง่ายและ เห็นจังหวะของการเข้า order ที่ดี
  • แต่เมื่อเด้งขึ้นแล้ว กราฟ 15 นาทียังไม่เปลี่ยนเทรนขาขึ้นด้วย ก็ต้องไปดูที่แนวต้านของกราฟ 15 นาทีว่าจะแรงขายออกมา มากหรือ น้อย ถ้ามากก็แสดงว่าชุดของกราฟในชุดเล็ก เป็นแค่การเด้งเท่านั้นในชุดของคลื่นใหญ่เท่านั้น อาจจะเป็นเด้ง B เพื่อลง C ต่อก็ได้
  • แต่ใน T/F เล็กจะเกิดสัยญารเปลี่ยนเทรน เร้วกว่า T/F ใหญ่และแยกไม่ได้ว่าเป็น ชุด เปลี่ยนเทรนขึ้น หรือ ชุดเด้ง ต้องดู กราฟ T/F ใหญ่ประกอบด้วย การเชื่อม T/F จึงสำคัญมาก ถ้าเข้า


กราฟ T/F 1,5,15 นาที 


นับคลื่นในกราฟ 1 นาที ว่าคลื่นย่อยเคลื่อนที่อยู่ที่คลื่นไหน จะได้ไม่พลาดในการเข้า order 

  • จากรูปนับคลื่นจาก T/F 1 นาทีเป็นคลื่น 3 และเด้ง 4 แล้วที่แนวรับ 873 เกิด การทำ double bottom 
  • ในกราฟ 5 นาทียังยก low ยก high ขึ้นอยู่ก็ยังบ่งบ่งบอกว่า ยังเป็นขาขึ้นอยู่และ เมื่อจบการลงซึ่งลงมาทำ 1,2,3 ที่แนวรับแล้วกลับตัว ทำ 1,2 เพื่อยืดคลื่น 3 ของฝั่งขาขึ้น
  • ก็จะเกิดการเปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้นชั่วคร่าว ทำให้มีจังหวะทำกำไรได้ระยะสั้นๆ ตาม เทรนใหญ่ที่ยังเป็นขาขึ้นอยู่ คลื่นยังขึ้นไม่ครบ


กราฟ T/F 1,5,15 นาที 


ภาพเมื่อกราฟเคลื่อนตัวไปตามคลื่น จะเห็นว่าการเด้งขึ้นของ กราฟ 1 และ 5 นาทีที่ไม่สอดคล้องกับ กราฟ 15 นาที และ H1 เป้นชุดเด้งขึ้นของขา B ในกราฟ H1 เท่านั้น สัญญาณการเปลี่ยนเทรนจึงเกิดเฉพาะใน T/F เล็กเท่านั้น T/F ใหญ่เป็นเด้งขึ้นเพื่อลง ถ้าเอา T/F มาเชื่อมกันได้ ก็จะเห้นรายละเอียดของคลื่น เล็กในคลื่นใหญ่ ได้อย่างสมบูรณ์ และ ไม่หลงกับทิศททางของการเกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนใน T/F เล็ก

 
กราฟ 15,5 H1 นาที

วันอังคาร, พฤศจิกายน 10, 2563

ว่าด้วยเรื่องของแรงขาย

 แรงขาย คือ แรงที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากแนวต้านนั้นๆ จะมาก หรือ น้อย ขึ้นอยู่ ปัจจัยหลายอย่าง

  1. T/F ยิ่ง T/F ใหญ่ยิ่งมีแรงขายมากกว่า T/F เล็ก
  2.  สภาพตลาด ณ.เวลานั้นๆ ข่าวต่างๆ  จะส่งผลต่อแรงซื้อและแรงขาย แต่อาจจะเป็น ชั่วคร่าว และกลับเข้าสู่สภาวะปกติ เมื่อเวลาผ่านไป
  3. เทรนของกราฟ คือ ทิศทางการเคลื่อนที่ของกราฟที่เคลื่อนที่ด้วยความแรงไปด้านด้านหนึ่งอย่างชัดเจน เมื่อกราฟเคลื่อนที่เป็นเทรนผ่านแนวต้านต่างๆ ก็จะมีแรงขายออกมา คือ เมื่อกราฟเคลื่อนที่ชนแนวต้าน ก็จะมีแรงขายออกมา แต่ถ้า กราฟเคลื่อนที่ด้วยความแรง มีแรงซื้อมาก และพุ่งขึ้นด้วยแท่งเทียนสีเขียวจำนวนมาก ก็อาจจะทะลุแนวต้านไปได้หลายแนว จนกว่าแรงซื้อ จะเริ่มอ่อนแรง และวิ่งด้วยอัตราเร่งที่ลดลง เมื่อชนแนวต้าน แล้วมีแรงขายออกมา การวิ่งลงของแรงขายผ่านแนวรับ ก็จะเป็นบอกได้ว่า แรงขายนั้นๆ มีมาก หรือ น้อย
  4. เคลื่อนไปตามทิศทางปกติของกราฟ
          ถ้าในสภาวะเหตุการณ์ปกติ กราฟก็จะเคลื่อนที่ไปตามทิศทางปกติ ผ่านแนวต้านต่างๆ และวิ่งตาม                คลื่น ไปเรื่อยๆ หรือ ทิศทางเดิมต่อไปจนกว่า แรงซื้อจะหมด หรือ แรงขายมากว่าจนสามารถ ทำให้              กราฟกลับทิศทางได้

กราฟทอง 5 นาที

  • จะเห็นว่าเมื่อกราฟเปลี่ยนเทรนขาลง จะเกิดแท่งเทียนยาวสีแดงลงมาแนวรับ
  • ช่วงแรกจะมีแรงขายจำนวนมากออกมา และช่วงท้ายๆ เมื่อเจอแนวรับ แรงขายเริ่มลดลง
  • เมื่อจุดกลับตัว การยืดออกของกราฟฝั่งลงเริ่มน้อยลงเมื่อชนแนวรับ
  • เริ่มเห็นการยก low ขึ้นเพื่อทำ dow ขาขึ้นไปที่ตำแหน่งของแนวต้านใน T/F ใหญ่ 

                                      

กราฟ 15 นาที

  • การเปลี่ยนเทรน แรงซื้อและแรงขายต้องต่างกัน แต่จะเห็นสัญญาณของกราฟก่อนแล้ว 
  • เมื่อเอา dow ขาขึ้นมาจับ ก้จะเห็นว่าในตำแหน้งก่อนเปลี่ยนเทรนเป็นขาลง กราฟไม่สามารถทำ high ใหม่ได้
  • แรงขายเริ่มเข้ามากดดันแรงซื้อ ที่แนวต้านจะมีแรงออกมาตลอด กราฟทะลุผ่านไปไม่ได้
  • เมื่อ แรงขายเริ่มมีมากกว่าแรงซื้อ สังเกตุจาการทำ dow ขาขึ้นครั้งแรก แล้ว ก็เกิด double bottom ด้านบน แล้วเกิดการทำ dow ขาลงแทนขาขึ้น
  • หลังจากนั้น แรงขายก็เข้ามาควบคุมกราฟ แทนฝั่งซื้อ




   เราสามารถดูแรงขายตามแนวต้านต่างๆ ว่ามีมากหรือน้อย และพฤติกรรมของแท่งเทียน 




จากวันที่ set เด้งขึ้นหุ้นกลุ่มไหน ขึ้นบ้าง

ตารางเก็บ %CHG มากสุดของแต่ละวัน

เก็บข้อมูลจากวันที่ set เด้งขึ้นมาจนถึงวันที่ 09-11-20 ว่าหุ้นกลุ่มไหนบ้างที่มี flow เข้ามา 

เริ่มจากวันที่ 3/11/20 ส่วนใหญ่จะเป็น

  • หุ้นโรงกลั่น
  • หุ้นกลุ่มพลังงาน


วันที่ 04-11-20 set พักฐานก่อนจะวิ่งต่อในวันที่ 5 

หุ้นกลุ่มที่มี flow เข้าส่วนใหญ่

  • กลุ่ม growth
  • กลุ่ม อิเล็กทรอนิกส์ 


 วันที่ 05/11/20

หุ้นกลุ่มที่มี flow เข้าส่วนใหญ่ 

  • กลุ่มพลังงาน
  • กลุ่ม ปิโตรเคมี บ้างตัว
  • กลุ่มหุ้นที่จัดอยู่ในกลุ่ม turn around

วันที่ 06/11/20

หุ้นกลุ่มที่มี flow เข้าส่วนใหญ่ 

  • กลุ่มพลังงาน
  • กลุ่ม BANK


วันที่  09/11/20 หุ้นที่มี flow เข้าหลักๆ
  • หุ้นที่งบออกมาดีกว่า คาด หรือ งบดีขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว 
  • หุ้นพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
  • โรงไฟฟ้า 






จุดเปลี่ยนเทรน ver.2

 จุดเปลี่ยนเทรน ในมุมมองของพรานล่าหุ้น

  • จะเป็นจุดที่บ่งบอกว่า กราฟจะขึ้นหรือ ลง
  • เข้า oreder ไม่นาน แล้วกราฟจะเลือกทางเลย
  • ใช้ กราฟ 3 t/f ประกอบในการดูรายละเอียดของจุดเปลี่ยนเทรน
  • ใช้ กราฟ 5 นาทีดูจุดเปลี่ยนเทรน จุดแรกที่แนวรับ
  • ใช้ กราฟ 15 นาทีประกอบในการดุการเคลื่นนที่ของกราฟ ผ่านไปยังกราฟ H1
  • กราฟ H1 เอาดูแนวรับแนวต้านหลัก และดูทิศทางของราคา

รูป จุดเปลี่ยนเทรนของกราฟ TFEX 

  • ซ้าย กราฟ 15 นาที
  • กลาง กราฟ 5 นาที
  • ขวาสุด กราฟ H1

    กราฟ 15,5,H1 นาที


ช่วงจุดเปลี่ยนเทรนในขาลง

  • ใช้กราฟ 5 นาทีในการดูรายละเอียดในการเปลี่ยนเทรน
  • ใช้กราฟ 15 นาทีในการเชื่อมกราฟ 5 นาทีกับ H1 เพื่อดูจุดเปลี่ยนเทรนที่เชื่อมต่อกัน
ลักาณะของขาลง

  • ช่วงแรกกราฟลงมาที่แนวรับ เจอ demand
  • เด้งขึ้นจาก demand ขึ้นมาชนแนวต้าน แล้วเริ่มเห็นแรงขายออกมา
  • แรงขายที่ขายออกมามีจำนวนมากจน ทะลุแนวรับลงมาที่ แนวรับด้านล่าง
  • เกิดแรงซื่้อกลับ แล้วขึ้นไปไม่สามารถทำ high ใหม่ได้
  • เกิดการสร้าง dow ขาลงขึ้นที่กราฟ 5 นาที
  • กราฟ 15 นาทีและ H1 สอดคล้องกับ กราฟ 5 นาที





วันพุธ, พฤศจิกายน 04, 2563

สถานการณ์ tfex

 นับคลื่นจาก T/F H1 

  • นับคลื่นว่าตอนนี้ ขึ้นมาทำคลื่น 3 
  • พุ่งนี้น่าจะย่อ 4 เพื่อขึ้นคลื่นอ 5 ต่อ
  • แนวต้าน 767 น่าจะเกิดแรงขายแล้วย่อ ทำคลื่น 4 




สรุปทิศทางของ TFEX

  • น่าจะขึ้นต่อตาม T/F H1 แต่อาจจะย่อที่แนวต้าน 7676 เพื่อ sub แรงขายก่อน
  • แล้วขึ้นต่อทำคลื่น 5 ที่แนวต้าน 776 ของคลื่น ขาขึ้นสุดท้าย
  • แล้วจะปรับฐานลงมาทำ 1,2,3 


จากรูปจะเห็นว่าเมื่อวาน มี flow เข้ากลุ่ม 

  • พลังงาน
  • ปิโตรเคมี
  • ไฟฟ้า
 

สรุป การคาดการณ์วันนี้

วันนี้ถ้าจะเห็นต่อ กลุ่มนี้ก็อาจจะขึ้นต่อ และหุ้น growth บ้างต้วที่ยังไม่ขึ้น


 

TFEX จุดเปลี่ยนเทรน

 จุดเปลี่ยนเทรนของกราฟ

เป็นจุดที่ T/F ใหญ่ชนแนวรับ หรือ แนวต้าน แล้วเกิด sideway เพื่อที่จะเลือกทางแนวทางการดูจาก T/F เล็กไป T/F ใหญ่

  • ดูทิศทางจาก T/F ก่อนว่ามีแนวโน้มจะเคลื่อนที่ ขึ้น หรื ลง
  • เข้าไปดู T/F ย่อย 5 กับ 15 นาทีเพื่อดูการสรา้งคลื่นย่อย 
  • ว่าในคลื่นย่อย จะทำ dow theroy ฝั่งขาขึ้นหรือ ขาลง
  • ถ้าทำฝั่งขาขึ้น จะเห็นการยก low ยก high ขึ้นไปที่แนวต้าน
  • จะเห็นการสร้าง คลื่น 2 ที่แนวรับเพื่อเป็นสัญญาณบอกว่า ไม่ลง จะขึ้นแทน

จากรูป กราฟ TFEX

  • สังเกตุการเปลี่ยนแปลงในกราฟ 5 นาทีลงมาแล้วถึงแนวรับเป็นจังหวะเด้งขึ้น
  • เมื่อขึ้นมาชนแนวต้านมีแรงขายออกมา ไม่ยอมให้ขึ้นต่อ
  • กราฟกลับลงไปที่แนวรับ ทะลุแนวรับด้านบนลงมา
  • เรียกว่าการทำ dow ขาลง คือ ลงมาชนแนวรับด้านล่าง ยืนบนแนวรับด้านบนไม่ได้
  • และก็เริ่มเด้งขึ้นจากแนวรับด้านล่างอีกครั้ง แต่ครั้งนี้ไม่สามารถขึ้นชนแนวต้านใหม่ได้ หรือ ไม่สามารถทำ high ใหม่ได้
  • กราฟก็จะเริ่มเปลี่ยนเทรนเป็นการทำ กราฟขาลงแทน


TFEX T/F 5,15 นาที


การทำกราฟฝั่งขาขึ้น

  • จะเห็นรายละเอียดได้จากกราฟ 5 นาที
  • กราฟขึ้นมาถึงแนวต้าใน T/F ใหญ่ระดับ H1
  • ชนแนวต้านแล้วกราฟเปลี่ยนเป็นขาลงลงมาที่แนวรับของกราฟ H1
  • เกิดการเด้งขึ้นที่แนวรับนี้ และขึ้นไปชนแนวต้านมีแรงขายกราฟลงมาที่แนวรับ
  • แต่ไม่หลุดแวรับ และมีแรงซืท้อกลับที่แนวรับนี้ ขึ้นไปชนแนวต้านด้านบน
  • มีแรงขายออกมาอีกครั้งที่ตำแหน่งเดียวกันของแนวต้านก่อนหน้า
  • กราฟเปลี่ยนเป็นขาลง แต่ยืนบนแนวรับที่ยกตัวขึ้นได้ เกิดการทำ dow ขาขึ้น
  • เป็นจุดเปลี่ยนเทรน ของฝั่งขาขึ้น
  • กราฟวิ่งขึ้นทะลุแนวต้านขึ้นไปชนแนวต้านใหม่ และย่อไม่หลุด low เกิดการทำคลื่น 2 ที่แนวรับเพื่อยืดทำคลืน 3 ขึ้นไป


กราฟ T/F 5,15,H1


จุดเปลี่ยนของกราฟฝั่งขาขึ้น และ ขาลง คือ แรงซื้อและแรงขายที่แนวรับและแนวต้านสำคัญ
  • เมื่อเกิดแรงซื้อ หรือ แรงขายที่แนวรับ หรื แนวต้านสำคัญแล้ว 
  • กราฟจะเปลี่ยนเทรนตามแรงที่มากระทำ ทันที
  • แต่เมื่อขึ้นไปชนแนวต้าน หรือลงมาชนแนวรับ ถัดไปแล้วต้องไม่สามารถทำ high ใหม่ หรือ ทำ lowใหม่ ได้กราฟถึงจะเริ่มสร้างเทรนในฝั่งที่มีแรงเข้ามากระทำต่อไป

กราฟ T/F 5,15,H1



การดูคลื่นย่อยจาก T/F ที่เล็กกว่า
  • เข้าไปดูคลื่นย่อยตามแนวต้านของ กราฟใฟญ่ระดับ H1
  • ดูการเคลื่อนที่ของคลื่นย่อย ว่ามีแนวโน้มจะวิ่งไปทางไหน
  • รอดูจนประทั่งกราฟใน T/F 5 นาทีเริ่มขยับไปทางหนึ่งทางใด ชัดเจน
  • สามารถสร้าง high ใหม่ หรือ low ใหม่ได้ และรอจังหวะย่อ หรือเด้ง แล้งติดแนวรับ หรือ แนวต้านไม่หลุดกราฟก็จะเริ่มวิ่งไปในทิศทางนั้นเพื่อสร้างคลื่น 3 ต่อไป

กราฟ T/F 5,15,H1