กราฟ BTC week |
แยกเทรนจากภาพใหญ่ก่อน
XAU Month |
GU month |
EU month |
AU month |
จากภาพ month กราฟของคู่เงิน GU,EU,AU และ XAU ยังอยู่ในช่วงปลายของขาลง เพราะเริ่มเห็น sw ที่แนวรับ แต่ก็เป็นการตีความจากภาพที่เห็นเท่านั้นซึ่งโซนนี้เราจะเรียกว่าโซนของ demand & supply ก่อนจะผ่านไปยังโซนของขาขึ้น
ต่อมามาดูต้นเทรนของกราฟขาขึ้นมีลักษณะอย่างไงบ้าง
ในความเชื่อ ( Elliott wave ) ที่ว่าในคลื่นใหญ่ก็จะมีคลื่นเล็กที่เคลื่อนไหวเหมือนกัน ซ้อนๆกันอยู่
USDCHF month |
ลองนับคลื่นขาลงตามสูตร Elliott wave ว่าจะจบขารึยังต้องลงครบ 5 คลื่น หรือ ลงครบ ABC
นับคลื่นตาม Elliott wave |
เมื่อนับแล้วก็สรุปได้ว่าลงครบคลื่นแล้ว แสดงว่าจบขาลงแล้ว และกำลังขา 1 ย่อ 2 อยู่ตามลักษณะของการสร้างขาขึ้นจากกราฟทางซ้ายมือ โซนนี้ผู่เขียนจะเรียกว่าโซนของ demand & supply ก่อนที่จะผ่านไปยังโซนของการสร้างขาขึ้น
ลองเอากราฟที่มี t/f เล็กว่ามาเปรียบเทียบดูว่าคลื่นที่เกิดขึ้นจะเคลื่อนที่เหมือนกันไหม
กราฟ 5 นาที |
แยกโซน demand & supply ให้ชัเจน |
อธิบายหลักการของ demand & supply ในกราฟทางซ้ายซึ่งเป็นการสรา้งเทรนขาขึ้น
ช่วงที่ 1 ทำการ sub แรงขายให้น้อยลงเพื่อที่จะขึ้นต่อได้เมื่อกราฟลงมาชนแนว deamnd
Demand & supply ในกราฟ H1
จุดสังเกตุ
ช่วงที่ 2 sub แรงขายด้านบนลงมาที่แนวรับที่ยังยก low เป็นแรงขายชุดสุดท้าย เหมือนชุด selling climax เมื่อยังไม่หลุดแนวรับก็เป็นสัญญาณบอกว่ายังอยู่ในเทรนขาขึนอยู่เพราะมี demand เข้ามารับไม่ลงไปที่ low เดิม
ช่วงที่ 3 sub supply จากแนวต้านก่อนหน้าและแนวต้านของตัวเอง
ช่วงที่ 4 low ยกขึ้นแสดงถึงการสร้างเทรนขาขึ้น
ช่วงที่ 5 เมื่อแรงขายหมด แรงซื้อจากตำแแหน่ง demandใหม่ ก็ดันราคขึ้นเป็นเทรนขาขึ้นชั่วคราว
สรุป การเคลื่อนตัวของกราฟใน t/f ที่เล็กกว่าได้ว่าคลื่นย่อยก็จะเคลื่อนที่เหมือนคลื่นใหญ่ ตามทฤษฏีที่กล่าวไว้
รูปแบบการกลับตัวใน t/f month
USDCAD month |
กราฟ USDJPY Month |
อธิบายหลักการของ deand & supply ในกราฟที่อยู่ช่วงโซน sub แรงขายก่อนจะผ่านไปโซนขาขึ้น
1.แนวต้านที่มี supply อยู่เมื่อกราฟขึ้นมาชนอก็จะมีแรงขายจำนวนมากออกมา ถ้าจะผ่านไปได้ต้องทำการ sub supply ที่แนวต้านนี้ออกซะก่อน
2.ทำการ sub supply ออกราคาลงมาที่แนวรับแล้วกลับตัวได้แรงขายไม่เยอะไม่หลุด low เดิมแล้วก็กลับตัวขึ้นต่อไปตาม demand ที่มีอยู่ที่แนวรับนี้
3.แนวรับเริ่มยกขึ้นเป็นสัญญาณของการทำเทรนขาขึ้นบ่งบอกว่า แรงซื้อยังมีกำลังอยู่เพราะสามารถยกราคาไม่ให้หลุด low เดิมได้
เมื่อพอเข้าใจหลักการของ deamnd & supply และโซนของ deamnd & supply ก่อนที่จะเข้าสู่โซนขาขึ้น
มาดูกราฟจริงกันว่าเป็นจะเป็นอย่างไงบ้าง
ตัวอย่างกราฟทอง XAU
ดูภาพใหญ่จากกราฟ month ก่อนว่ากราฟอยู่ในฌโซนทางซ้าย หรือ ขวามือ
ตัวอย่างกราฟทอง XAU
ดูภาพใหญ่จากกราฟ month ก่อนว่ากราฟอยู่ในฌโซนทางซ้าย หรือ ขวามือ
XAU month |
กราฟทองระดับกราฟ month นั้นกราฟอยู่ทางขวามือ ซึ่งเป็นโซนขาลง แต่ดูลักษณะกราฟแล้วอาจจะจบขาลงแล้วก็ได้เพราะ เห็นการ sw ในกรอบและ low เริ่มยกขึ้นซึ่งเป็นลักษณะของกราฟที่อยู่ในโซน demand & supply ก่อนจะเข้าสู่โซนขาขึ้น ลองนับคลื่นและเพิ่มรายละเอียดลงไปเพื่อหาความน่าจะเป็นจากกราฟ
เมื่อเพิ่มรายละเอียดแนวรับแนวต้าน trend line ก็จะเห็นภาพว่าภาพระดับ month น่าจะอยู่ในโซนของ deamnd & supply ก่อนจะเข้าสู้โซนของขาขึ้น
มาดูกราฟ week กัน
กราฟบอกว่าทิศทางของการ sub แรงขายยังเป็นขาลงอยู่เพราะติดแนวต้านก่อนหน้าแล้วไม่สามารถทำใหม่ได้ แต่รูปแบบเมื่อตีเส้นแนวรับแนวต้านดูจะเห็น กรอบสามเหลี่ยมบีบตัวขึ้นเพราะเส้น trend line ยกตัวขึ้นเป็นลักษระของการสร้างเทรนขาขึ้น และคลื่นในมุมของ Elliott wave นับขึ้นไปแค่ได้คลื่น 3 เหลือการย่อ ขา และขึ้นของขา 5 ฉะนั้นอาจจะเห็นการเด้งที่แนวรับกหลังจากลงมาสักระยะหนึ่งเพื่อขึ้นทำคลื่น 5 ก่อนจะลงมา sub แรงขายลงมาทำ abc อีกครั้ง
เพิ่มรายละเอียดลงไปน่าจะอยู่ในโซน demand & supply อยู่ |
เมื่อเพิ่มรายละเอียดแนวรับแนวต้าน trend line ก็จะเห็นภาพว่าภาพระดับ month น่าจะอยู่ในโซนของ deamnd & supply ก่อนจะเข้าสู้โซนของขาขึ้น
มาดูกราฟ week กัน
กราฟ week |
ต่อไปก็ลง detail ในกราฟ day ต่อ
คาดการณ์กราฟ day |
ดูกราฟ day แล้วทองลงมาด้วยคลื่น 3 เหลือ คลื่น 4 และ ลง 5 ฉะนั้นก็เลยคากการณ์ทิศทางราคาจากกราฟ day ได้ประมาณนี้ว่ายังเป็นขาลงอยู่อตอนนี้อยู่ช่วงของการเด้งขา 4 และเมื่อเสร้จก็จะลงขา 5 ต่อไป
Demand & supply ในกราฟ H4
demand & supply กราฟ H4 |
อธิบายจุดต่างๆของกราฟ
เมื่อกราฟชนแนวต้านระดับ week และ day แล้วมีแรงออกมากลายเป็นขาลงกราฟก็จะสร้างเทรนลงเหมือนขาขึ้นแต่ในระหว่างทางก็จะลงมาชนแนวรับที่มี demand จำนวนมากๆกราฟก็จะเด้งขึ้นได้เพราะในช่วงจังหวะนี้ แรงซื้อจะมีแรงมากกว่าแรงขายเพราะแรงขายขายลงมาได้ระยะหนึ่งเหลือแรงไม่มากจังหวะนี้แรงซื้อจะวิ่งสวนแรงขายขึ้นมาได้ แต่ถ้าเทรนยังเป็นเทรนลงอยู่ และคลื่นยังลงไม่ครบ แรงซื้อที่วิ่งขึ้นไปเมื่อชนแนวต้านของกราฟขาลงก็จะมีแรงขายออกมาตามแนวต้านแล้วก็กลายเป็นขาลงตามเทรนเดิมในที่สุด
จุดสังเกตุ
- เมื่อกราฟลงมาเจอแนว demand ครั้งแรกที่แรงซื้อยังไม่ถูก sub ออกไป แล้วแนวนี้มีการทับซ้อนของราคาจำนวนมากก็จะเห็นการกลับตัวแล้วเด้งขึ้นได้
- แนวต้านของกราฟขาลง เมื่อกราฟขึ้นมาชนแล้วไม่ผ่านก็จะมีแรงขายออกมาแล้วกลับไปเป้นเทรนขาลงเหมือนเดิม
- ถ้าคลื่นยังลงมาไม่ครบ กราฟจะพยายามสรา้งคลื่นให้ครบ ยกเว้นปลายคลื่นอาจจะไม่ครบก็ได้ฉะนั้นเมื่อเรานับคลื่นแล้วยังไม่ครบก็สันนิษฐานได้ว่า กราฟจะต้องเคลื่อนที่ไปตามทิสทางของคลื่นในมุม Elliott wave เสมอ
Demand & supply ในกราฟ H1
Demand & supply ในกราฟ H1 |
- แนว deamnd ที่เด้งขึ้นได้จะตรงกับแนวของคลื่น B ในขาลงจึงเห็นการเด้งขึ้น แต่จะขึ้นได้ไม่ไกลและไม่สามารถผ่านแนวต้านของกราฟก่อนหน้าได้ เมื่อเด้งขึ้นครบคลื่นก็จเริ่มหมดแรง ชนแนวต้านไม่ผ่านก็จะมีแรงขายออกมาและเปลี่ยนกลับมาเป็นขาลงเหมือนเดิม
- จูดสังเกตุการเด้งของขา B คือวิ่งขึ้นครบคลื่นแต่ไม่ผ่านแนวต้านก่อนหน้า เกิดยอดสูงที่สูดขึ้นมาก่อนแล้วกลายเป็นขาลง หลังจากนั้น high ใหม่ที่ทำขึ้นก็จะต่ำลงเรื่อยๆเป็นลักษณะของเด้งของขา B และเมื่อชนแนวต้านไม่ผ่านก็จะลงด้วยขา C
- ถ้าสับสนนับคลื่นไม่ถูกก็นับจาก t/f ใหญ่ลงมาก่อนแล้วค่อยๆเชื่อม t/f ดูว่าตอนนี้ใน t/f เล็กนั้นเคลื่อนที่อยู่ในตำแหน่งไหนของ t/f แล้ว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น