Double bottom จุดสำคัญของการกลับตัว
การกลับตัวส่วนใหญ่จะเห็นการทำ double bottom เป็นองค์ประกอบเสมอ หรือ การกลับตัวขึ้นต่อก็ตามก็จะเห็นการทำ double bottom เป็นองค์ประกอบหลักส่วนเมื่อเจอแล้ว กราฟจะกลับตัวหรือไหม อยู่ที่ว่า double bottom นั้น เกิดที่ส่วนบนสุด หรือ ล่างสุดของกราฟ ต้องพิจารณาเรื่อง T/Fเข้ามาร่วมด้วย ไม่งั้นการเกิด double bottom อาจจะเป็นเพียงแค่การเด้งขึ้นที่แนวรับสำคัญแล้วลงต่อ ไม่กลับตัว
องค์ประกอบในการพิจารณา การเกิด double bottom ที่สามารถจะเป็ยจุดกลับตัวได้
- ต้องเกิดที่ตำแหน่งแนวรับ หรือ แนวต้าน ของ T/F ระดับ H1 ขึ้นไป
- ต้องเห็นแรงขายเริ่มอ่อนแรงลงด้วยการลงที่สั้นลงเรื่อยๆ ไปที่แนวรับ หรือ แนวต้านที่มี demand มากพอที่จะเป้นแนวกลับตัวได้
- หลังจากเกิด double bottom แล้วกราฟจะเด้งขึ้น แล้วไม่ลงมาทำ low อีก
- indicator confirm การกลับตัวพร้อมกัน
- ใช้ T/F M15 เป็นตัวกลางในการดูสัญญาณการกลับตัวเชื่อมระหว่างกราฟ M5 และ H1
- ใช้ T/F M5 ในการขยายเพื่อดูรยละเอียดของจุดที่เกิด double bottom
- .ใช้แนวรับและแนวต้านของ T/F H1 ในการใช้เป็นแนวกลับตัว
- ถ้าเกิดการกลับตัวสัญญาณต้องเกิดทั้ง 3 T/F เกิด T/F ใด T/F หนึ่งไม่ได้
ตัวอย่างจากรูปกราฟทอง xau/usd
T/F M15
- เกิดสัญญาณ double bottom ที่แนวรับของ T/F H1
- หลังจากเกิดสัญญาณ double bottom แล้วก็กราฟจะเด้งขึ้นต้องทะลุแนวต้านของกราฟก่อนหน้าให้ได้ ถึงจะเกิดการเปลี่ยนเทรนขึ้น
- เกิดสัญญาณของคลื่น falt 2 ลูกที่แนวรับแต่ไม่ลงต่อ
- เมื่อเกิด สัญญาณ double bottom แล้วไม่ลงต่อก็จะเกิดการกลับตัว
- กราฟจะค่อยวิ่งขึ้นทะลุแนวต้านของคลื่น flat ก่อนหน้า
- ถ้ากราฟสามารถทะลุแนวต้านแล้วยืทนได้ก็จะเกิดขบวนการของเปลี่ยนเทรนต่อไป
- กราฟลงมาชนแนวรับเกิดการสร้างคลื่น 3 ที่แนวรับแล้วเด้งขึ้นเพื่อทำคลื่น 2 หรือ คลื่น 4
- แรงขายเริ่มอ่อนแรงลงเนื่องจากสังเกตุได้ว่า การลงสั้นลงและเกิดการเด้งขึ้นที่แนวรับ ทุกแนวจนถึงแนวรับสำคัญ
กราฟ 3 T/F M5,M15,H1 |
ตัวอย่างที่ 1
กราฟ 3 T/F M5,M15,H1 |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น