จุดสังเกตุของการกลับตัวในตำแหน่งแนวรับของ T/F H1 ในกราฟทอง
T/F H1
- นับคลื่นที่ลงมานับเป็นคลื่นของคลื่น 3 ลงมาเพื่อเด้งขึ้นทำคลื่น 4
- ดูที่ตำแหน่งแนวรับของ H1 เพื่อดูคลื่นย่อยว่าจะลง หรือ ขึ้นคลื่น 5
T/F M15
- มีแรงขายกราฟลงมาที่แนวรับของ H1 แล้วเด้งขึ้นเพื่อ sub แรงขาย
- เมื่อ sub แรงเสร็จกราฟไม่หลุด low และเริ่มเด้งขึ้นเพื่อเปลี่ยนเทรน
- เมื่อขึ้นมาชนแนวต้าน ยังมีแรงขายออกมาราคาลงไปหลุดแนวรับก่อนหน้า
- กราฟลงมาที่แนวรับเดกิมอีกครั้ง แต่ยังไม่ลงถึง low สุดท้ายก่อนหน้า
- เริ่มมีแรงซื้อเข้ามา และกราฟเริ่มเด้งขึ้นเพื่อเปลี่ยนเทรนอีกครั้ง
T/F M5
- ทำ double bottom ที่แนวรับเป้นสัญญาณเปลี่ยนเทรน
- เริ่มเด้งขึ้นเพื่อจะทะลุแนวต้านด้านบน
- เมื่อชนแนวต้านแล้วมีแรวขายออกมา กราฟยังยก low ขึ้นได้เป็นสัญญาณของการขึ้นต่อ
- indicator ส่งสัญญาณของการเปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้น พร้อทกันทั้ง 3 T/F M5,M15 และ H1
กราฟ 3 T/F M5,M15,H1 |
ลักษณะของการยืดกราฟเพื่อสร้างคลื่นขาขึ้น
T/F M5
- เมื่อกราฟทะลุแนวต้านได้ ก็จะเกิดการสร้างคลื่น 2 ในกราฟ M5 สำเร็จ
- ต่อไปก็จะยืดคลื่นขาขึ้นเป้นคลื่น 3 คลื่นที่ไม่สั้นที่สุดในมุมของ wave
- เกิดการสร้างคลื่น 2 เพื่อยืดคลื่น 3 ต่อไป
T/F H1
- เกิดการเด้งขึ้นเพื่อสร้างคลื่น ในมุมของ wave
กราฟ 3 T/F M5,M15,H1 |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น