หน้าเว็บ

วันอาทิตย์, กันยายน 01, 2562

sub แรงขาย Ver.4

โซนของการ sub แรงขายจะต้องมีองค์ประกอบดังนี้ จึงจะเรียกว่าโซนของการ sub แรงขาย
  1. ลงมาครบคลื่นของฝั่งขาลงตาม Ellliott wave
  2. ชนแนวรับทีมี demand เพียงที่จะเป็นจุดกลับตัวได้
  3. เกิด double botttom คือ ลงต่อไม่ได้
  4. เกิด sideway ในกรอบแรงซื้อและแรงขายสู้กันจนเกิดเป็น โซนต่างๆขึ้นมา 
  5. หลังจากผ่านโซนต่างๆแล้วจะเกิดการสร้างเทรน คือ แรงของอีกฝั่งลดลงอย่างเห็นได้ชัดและเกิดจุดเปลี่ยนเทรนขึ้น

นี้คือโซนต่างๆของการ sub แรงขายเพื่อเปลี่ยนเทรน จะมีหลักๆ 3 โซนที่ต้องจับตาการเปลี่ยนแปลง ของแรงซื้อและแรงขายตามแนวรับและแนวต้านสำคัญ
3 โซนของก่อนการเปลี่ยนเทรน


แบบที่ 1 
คือการ sub แรงขายแบบ sub บน sub ล่างและเปลี่ยนเป็นขาลง เมื่อลงมาที่แนวรับสำคัญก็เปลี่ยนเป็นขาขึ้นได้ในที่สุด
แบบที่ 1

ตัวอย่างกราฟที่ sub แรงขายล้วกลายเป็นขาลงแต่กลับตัวที่แนวรับสำคัญได้

เพิ่มคำอธิบายภาพ



 แบบที่ 2 
คือ subแรงขายบน และ แรงขายล่าง เสร็จแล้วยืนบนแนวรับของจุดเปลี่ยนเทรนได้
แบบที่ 2

 ตัวอย่างกราฟที่ sub แรงขายเสร็จแล้วยืนบนแนวรับของจุดเปลี่ยนเทรนได้

กราฟแบบที่ 2 ยืนบนจุดเปลี่ยนเทรนได้


แบบที่ 2 ยืนบนจุดเปลี่ยนเทรนได้


 แบบที่ 3
เป็นการ sub แรงขายที่แรงซื้อมากกว่าแรงขายชัดเจน หลังจากเกิด double bottom แล้วแรงซื้อจะรีบเข้ามาซื้อและดันราคาขึ้นจนกราฟเกิดเป็นรูปตัว V ด้วยแรงซื้อมากกว่าแรงขาย low ยก high ยกขึ้นเรื่อยๆ volume ขายลดลง
แบบที่ 3

ตัวอย่างกราฟที่ sub แรงขายบบตัว V








แบบที่ 4
คือการ sub แรงขายแล้วกลับไปเป็นเทรนเดิม แรงซื้อจะน้อยกว่าแรงขาย ทำให้กราฟเกิดการเด้งขึ้นแล้วติดแนวต้านของฝั่งขายทะลุไมได้ ก็จะเกิดแรงขายจำนวนมากขายใส่ทำให้กราฟเปลี่ยนเป็นเทรนเป็นขาลงเหมือนเดิม

แบบที่ 4 sub แรงขายแล้วกลับตัวไม่ได้ 



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น