หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดี, กุมภาพันธ์ 25, 2564

หาจุดกลับตัวของ set ใช้ T/F ไหนเป็นหลัก

 ในมุมพรานล่าหุ้น การกลับตัวจะต้องใช้ T/F ที่เป็นตัวกลางระหว่าง T/F ใกล้ และ T/F ไกล

T/F ใกล้ มี T/F อะไรบ้าง

  • T/F M5,M15,H1,H4 และ day
T/F ไกล หมายถึง T/F ที่ไม่เป็นปัจจุบัน และมองไกลจาก day ขึ้นไปได้แก่

  • T/F week และ month 
ถ้าจะหาจุดกลับตัวที่มีประสิทธิภาพ พรานล่าหุ้นจะมองที่ T/F H1 ก่อนเพราะ T/F H1 เป็นตัวกลางระหว่าง T/F เล็กและ T/F  ใหญ่

T/F เล็ก คือ T/F M5,M15, H1 ลงมา

T/F ใหญ่ คือ T/F  H1,H4, Day 

เมื่อแบ่ง T/F ที่จะเอาไว้หาจุดกลับตัวได้แล้ว ต่อไปก็เอา T/F มาเชื่อมเพื่อความเชื่อมโยงของตำแหน่งของจุดกลับตัว โดยเริ่มใช้ T/F H1,H4,Day เป็นการหาจุดกลับตัวหลักเพราะเป็น T/F ที่ปัจจุบันและเป็นตัวกลางของจุดเปลี่ยนเทรนที่มีประสิทธิภาพที่สุด 

ขั้นตอนที่ 1

  1. หาแนวรับของ 3 T/F เพื่อหาจุดที่มีนัยะในการเปลี่ยนเทรน เพราะเมื่อแนวรับเป็นจุดเดียวกัน หรือ เป็นจุดที่ใกล้เคียงกัน ก็จะทำให้เกิด demand ที่มีนัยยะที่แนวรับนี้ ซึ่งอาจจะเป็นจุดกลับตัวก็ได้
  2. ดูพฤติกรรมของกราฟที่แนวรับนี้ว่าจะเด้งแล้วลงต่อ หรือ กลับตัวเปลี่ยนเทรนเป็นเทรนขาขึ้น
  3. ใช้ Indicator เข้ามาช่วยดูตำแหน่ง และ จุดเปลี่ยนเทรน จะง่ายขึ้นเพราะเราจะไม่ได้ตัดสินใจด้วยตัวเอง ซึ่งมันอาจจะพลาดได้ เพราะความคิดของเรา    อาจถูกครอบโดยกิเลส ซึ่งทำให้ความจริงกับสิง่ที่คิดไม่ตรงกัน

กราฟ TFEX 3 T/F H1,H4 Day

ขั้นตอนที่ 2
    1. หาแนวรับจากกราฟ day มาก่อนเพื่อหาแนวรับร่วมกับ T/F H1 และ T/F H4
    2. เมื่อได้แนวรับที่มีจุดรับใกล้ๆกันแล้ว ก็เอาจุดนี้ไปเฝ้าระวังเมื่อกราฟลงมาชนแนวรับนี้
    3. เมื่อกราฟลงมาชนก็สังเกตุพฤจิกรรมของกราฟ ว่าจะเปลี่ยนเป็นขาขึ้นเลย หรือ เด้งเพื่อลงต่อ
ข้อสังเกตุในการเด้งเพื่อเปลี่ยนเทรน
  • หาเจอแนวรับร่วมของ 3 T/F ได้จะเป็นจุดเด้งที่ดี ที่สามารถเป็นจุดกลับตัวได้เลย
  • ถ้ากราฟจะกลับตัวที่แนวรับร่วมนี้ กราฟต้องเด้งแล้วสร้างฐานของ dow ขาขึ้นให้ได้ โดยที่ไม่ลงมาที่ low เดิมหรือ low ก่อนหน้า

ตัวอย่างที่ 2 หาจุดกลับตัวในกราฟทอง

  • หาแนวรับจาก T/F ใหญ่ month และ week เชื่อม ด้วย day 
  • จะเห็นแนวรับร่วมจากกราฟ week ที่เป็นตัวกลางระหว่างกราฟ day และ กราฟ month 
  • กราฟ month ยังลงไม่สุด แต่กราฟ day ถึงจุดแนวรับที่เกิด double bottom แล้ว
  • ดูต่อว่าจะลงด้วยกราฟ month หรือ จะเด้งกลับตัวที่กราฟ day
  • โดยใช้ T/F week เป็นตัวเชื่อม เพื่อดูพฤติกรรมอขงการเปลี่ยนเทรน    

กราฟ XAU/USD 3 T/F  Day,Week,Month


กราฟ T/F เล็กระดับ H1,H4,Day เอาไว้ดูรายละเอียดของ cycle ของการเคลื่นอที่ในภาพเล็ก เพื่อดูจังหวะของการเปลี่ยนเทรน ขึ้น หรือ ลง

  • H1 นับคลื่นในมุมของ wave จะเห็นว่ามีการลงมาของคลื่น 2 cycle แล้วถึงแนวรับอขง day 
  • H4 นัลคลื่นที่ลงมาชนแนวรับได้ เป็น 1 cycle 
  • กราฟ day เห็นการทำ double bottom ที่แนวรับของ week และ month  


กราฟ XAU/USD 3 T/F H1,H4 Day

ขั้นตอนที่ 3

ต่อไปก็ต้องดูว่ากราฟจะเลือกลงต่อไปทำคลื่นขาลงของ month หรือ จะจบขาลงแล้วกลับตัวตามกราฟ day อันนี้ต้องเอาทฤษฎี dow เข้ามาช่วยดูการสร้างเทรน ว่าสร้างเพื่อลงต่ หรือ สร้างเพื่อเปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้น



วันพุธ, กุมภาพันธ์ 24, 2564

สัญญาณของจุดเปลี่ยนเทรน ต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้างในมุมพรานล่าหุ้น

สัญญาณของการเปลี่ยนเทรน ในมุมพรานล่าหุ้น คือ 

  • จุดที่กราฟเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ทำแบบเดิม
  • เป็นจุดที่กราฟ อาจะเรียกว่ากลับตัวก็ได้
  • เป็นจุดที่มีความเสี่ยงต่ำ ถ้าพบสัญญาณนี้
  •  เป็นจุดที่ดี มีประสิทธิภาพสูงที่จะสามารถเปลี่ยนเทรนได้
  • เป็นจุดที่ต้องสังเกตุ การเปลี่ยนแปลงของกราฟ และ พฤติกรรมตามแนวรับและแนวต้าน
องค์ของสัญญาณของจุดเปลี่ยนเทรนมีดังนี้

  1. ต้องเด้งขึ้นครบ cycle 1 cycle และไม่เกิด low ที่ต่ำลง
  2. ต้องเกิดสัญญาณ 3 อย่างจาก 3 indicator 
  3. เกิดที่แนวรับของ T/F ใหญ่าระดับ H1 ขึ้นไปจะมีประสิทธภาพมาก
  4. indicator วิ่งข้ามจุดเปลี่ยนของขาลงขึ้นมาได้
    • RSI จะนับที่เส้น 50
    • MACD จะนับเมื่อ MACD วิ่งขึ้นทะลุเส้น 0 ขึ้นมาได้
    • SMA นับเมื่อเกิดการ cross กันระหว่างเส้นช้า และ เส้น เร็ว  
      5. T/F จะต้องเคลื่อนที่สอดคล้องกัน ต้องมีอย่างน้อย 2 T/F ถึงจะเป็นจุดที่เห็นสัญญาณการเปลี่ยน                เทรนที่น่าเชื่อถือได้ 
      6. T/F เล็กต้องสอดคล้องกันจาก T/F เล็กไปสู้ T/F ใหญ่ เรื่อยๆจุงจะเป็นจุดเปลี่ยนเทรนที่ดี
      7. ถ้า T/F ไม่สอดคล้องกัน จะไม่นับว่าเป็นจุดเปลี่ยนเทรน จะเรียกว่า จุดเด้งขึ้นของกราฟเท่านั้น  
  

ตัวอย่างกราฟทอง ( XAU/USD )

เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนเมื่อเกิด 3 สัญญาณพร้อมกัน ไล่ไปที่ละ T/F จากเล็กไปใหญ่

T/F M1 

  1. เกิดการ cross กัน ของ SMA
  2. RSI ตัด SMA ที่บริเวณเส้น 50
  3. MACD ยืน signal line ได้และกำลังจะขึ้นทะลุ 0
T/F M5
  1. แท่งเทียนตัด SMA ขึ้น
  2. RSI ตัดและยืนบนเส้น SMA  ได้
  3. MACD กำลังจะวิ่งขึ้นทะลุเส้น 0 
  T/F M15
  1. เกิดการตัดกัน ระหว่างแท่งเทียนและ เส้น SMA
  2. RSI ตัดและยืนเส้น SMA ได้
  3. MACD ไม่สามารถขึ้นทะลุเส้น 0 ได้
ถ้าเกิดสัญญาณ มาติดที่ T/F M15 กราฟก็จะเปลี่ยนเทรนที่ T/F M15 เท่านั้นหลังจากนั้นก็จกลับไปเป็นเคลื่อนที่ในเทรนเดิมต่อไป


กราฟทอง 3 T/F M1,M5,M15

ตัวอย่างกราฟทอง 
  • เกิด 3 สัญญาณ ใน 3 T/F กราฟก็จะไล่เปลี่ยนเทรนไปเรื่อยๆ ตาม T/F ที่เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรน

กราฟทอง 3 T/F M1,M5,M15

ตัวอย่างกราฟทอง 3 T/F M5,M15,H1 
  • ลองดูจาก T/F M15 ,M5 ,H1  เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนพร้อมกัน 

กราฟทอง 3 T/F M5,M15,H1 


ตัวอย่างกราฟ TFEX เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรน และ ก็เปลี่ยนสำเร็จจาก 3 เงื่อนไข
  1. เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนจา T/F M1 ทั้ง 3 สัญญาณ
  2. T/F M5 ก็เกิดสัญญาณเปลี่ยนทั้ง 3 indicator 
  3. T/F M15 ก็เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนทั้ง 3 indicator   

กราฟ TFEX 3 T/F M5,M15,H1







วันเสาร์, กุมภาพันธ์ 20, 2564

ถ้าเห็นกราฟ เคลื่อนที่ไปทางเดียว ต้องรอการกลับตัวที่แนวรับก่อน

 ถ้ากราฟเคลื่อนที่เป็นเทรน การที่จะหยุดและกลับตัวไปอีกทางหนึ่ง นั้นต้องมีหลายองค์ประกอบ ไม่งั้นถ้ามองว่ากราฟตัวแล้ว เข้าตามไป ก็อาจจะไปเจอจังหวะของเด้งแล้งลงต่อ ฉะนั้นต้องดูจุดแนวรับให้ดีๆ ว่ามี demand เพียงพอที่จะกลับตัวได้ไหม

ตัวอย่างกราฟทอง 

รูปที่ 1 ลักษณะของขาลง

  • พอหลุดแนวรับ 1820 ใน T/F M15 ก็เป็นขาลงยาวลงมาที่แนวรับ 1790
  • ถ้าดูคลื่นย่อยใน T/F M1 จะเห็นคลื่นย่อย ที่ยืดฝั่งลงออกทะลุแนวรับลงไปเรื่อยๆ
  • ใน T/F M5 ก็เกิดแท่งแดงยาวมีแท่งเขียวบ้างแต่เมื่อ ชนแนวต้านก็เกิดแท่งแดงไหลหลุดแนวรับไปเรื่อยๆ จนถึงแนวรับหนึ่ง คือ ประมาณ  1790 


รูปที่ 2  พอ T/F ใหญ่ลงชนแนวรับประมาณ 1790 ก็จะเกิดแรงซื้อกลับ ทำให้เกิด คลื่นย่อยวิ่งขึ้นลงในกรอบ sideway 

  • เมื่อชนแนวรับ ใน T/F เล็กก็จะเกิดการสู้กัน ระหว่างแรงซื้อ และแรขาย 
  • T/F M5 ก็จะเริ่มเห็นการหยุดลงและเห็น กรอบ sideway แทน
  • T/F M15 เห็นการหยุดลง และ เริ่มเด้งขึ้นที่แนวรับ เพื่อเลือกทางว่าจะขึ้น หรือ ลงต่อ 



 

ฉะนั้นเมื่อกราฟวิ่งเป็นเทรนไม่ว่าฝั้งไหน ก็ตาม สิ่งที่ควรทำ คือ 

  1. ไปดูแนวร้บหรือ แนวต้าน ใน T/F ที่ใหญ่กว่า ระดับ day หรือ H1
  2. รอดูพฤติกรรมของ จะเกิดเหตุการณ์ดังต่อไปนี้
    • เห็นหารหยุดลง จากแรงซื้อที่แนวรับนั้นๆ
    • เห็นแรงซื้อกลับเข้ามากลับที่แนวรับนี้
    • เห็นการวิ่งขึ้นลง สู้กันระหว่างแรงซื้อและแรงขาย 
    • ภาพจะเริ่มชัดขึ้นเรื่อยๆ เมื่อกลับไปดู T/F ใหญ่ก็จะเกิดกรอบ sideway 
      3. รอ pattern การกลับตัวขึ้น หรือ pattern ของการลงต่อแล้วค่อยหาจังหวะเปิด order ตามไป 



วันศุกร์, กุมภาพันธ์ 19, 2564

จุดเปลี่ยนเทรน ที่แนวรับโดยใช้ 3 เงื่อนไขในการเปลี่ยนเทรน

จุดเปลี่ยนเทน ถ้าจะดูจากพฤติกรรมอขงแท่งเทียนอย่างเดียว บ้างครั้งจะงง และ ไม่สามารถตัดสินใจได้ว่า กราฟกำลังจะขึ้นทะลุแนวต้าน แล้ว

พรานล่าหุ้น จึง  เอาเครื่องมืเข้ามาช่วย confirm การเปลี่ยนเทรน และตั้งเป็นเงือนไขของการเปลี่ยนเทรน 3 ข้อ ดังนี้

ตัวอย่างหุ้น STA 

เงือนไขในการเปลี่ยนเทรนใน T/F M15

  1. SMA cross กันที่แนวรับ
  2. RSI ยืนบน sma ที่โซน 50
  3. MACD กำลังจะขึ้นทะลุ 0
เช็คเงื่อนไขใน T/F H1 ว่าจุดเปลี่ยนเทรนของกราฟสัมพันธ์กันไหม

  1. SMA cross กันที่แนวรับ
  2. RSI ยืนบน sma ที่โซน 50
  3. MACD กำลังขึ้นทะลุ 0

ไปดู T/F H4 และ day ว่ามีจุดไหน สัมพันธ์กับการเปลี่ยนเทรนไหม

เช็คที่ T/F H4 เจอจุที่มีความสัมพันธ์ดังนี้

  • RSI ตัด sma ขึ้น ที่โซน 50
  •  macd กำลังขึ้นทะลุ 0


กราฟ STA จุดที่ 1


ตัวอย่างจุดปลี่ยนเทรน ของหุ้น STA

 จุดที่ 2 เงื่อนไขของการเปลี่ยนเทรน ก็รูปแบบเดียวกับ กราฟด้านบน 

เช็ค T/F M15

  1. sma cross
  2. RSI ยืนบน sma ที่โซน 50
  3. macd กำลังขึ้นทะลุ 0
เช็คความสัมพันธ์ใน T/F H1 ก็จะเป็นรูปแบบเดียวกัน

  1. sma cross
  2. RSI ยืนบน sma ที่โซน 50
  3. macd กำลังขึ้นทะลุ 0

 

กราฟ STA จุดที่ 2




วันจันทร์, กุมภาพันธ์ 15, 2564

Pattern กลับตัวแบบ sideway บีบตัวเพื่อเลือกทาง


ทรงบีบตัวของกราฟหุ้น ที่เห็นจะเริ่มจาก
  • ลงมาที่แนวรับแล้วเด้งกลับขึ้นไปที่แนวต้านครั้งแรกจะไม่ผ่าน
  • กราฟกลับมาเป็นลงจากแรงขายที่แนวต้าน
  • แต่เมื่อลงมาที่แนวรับสุดท้าย ของชุดเด้งขึ้นก่อนจะไม่ค่อยหลุด และจะเกิดการพยายามกลับตัวที่แนวรับนี้
  • เกิดการ sub แรงขายที่แนวต้านของชุดการลงก่อนหน้า ที่ไม่หลุด low เดิม
  • เมื่อไม่หลุด low เดิมแรงซื้อจะกลับมา แล้วค่อยๆดันราคาขึ้นไปที่แนวต้าน
  • เกิดการ sub อีกครั้ง แต่ครั้งนี้จะไม่ยืดฝั่งลงออก
  • กลับกันจะเกิดการพยายามยืดฝั่งขึ้นแทน low จะเริ่มยกขึ้นเรื่อยๆ
  • จนเกิดกรอบบีบัว ระหว่างแนวต้าน และ แนวรับก่อนหน้า
จุดสังเกตุของการกลับตัว คือ
  • ลงมาที่แนวรับแล้วหยุดลง 
  • เกิดการเด้งขึ้นจากแรงซื้อที่แนวรับ เมื่อชนแนวต้านก็จะลงมาที่แนวรับที่ยก low ขึ้น
  • เริ่มมีแรงซื้อใหม่เข้ามา จนเกิดการบีบตัว และเห้นการเรียงตัวของแท่งเทียน
  • เมื่อจุดนี้ ก็จะเป็นเปลี่ยนเทรนที่กราฟจะเลือกทาง ขึ้น หรือลง
ลักษณะของการบีบตัวขึ้น
  • จะเด้งขึ้นก้วยการทำ flat แต่ low ยกขึ้น
  • เกิดการทำ flat 2 cycle ที่แนวรับแล้วกราฟยก low ขึ้นไปที่แนวต้าน
  • การย่อจากแรงขาย จะย่อลงมาที่แนวรับก่อนหน้า แล้วก็จะเด้งขึ้นเลยเป็นลักษณะของกราฟขาขึ้น ไม่ใช่กราฟขาลง
  • เมื่อถึงจุดที่กราฟขึ้นไปเรื่อยๆ จนเจอกรอบบีบตํวก็จะเกิดการบีบตัวและทะลุแนวต้านขึ้นไป 

ตัวอย่างหุ้น RBF
  • ชนแนวต้านแล้วไหลลงมาที่แนวรับ และ sideway จนเกิดกรอบบีบตีวและทะลุกรอบบีบตีวขึ้นไปได้

กราฟ RBF T/F 60 นาที

หุ้น EA  
  • ชนแนวต้านแล้วมีแรงขายออกมากราฟไหลลฃงมาที่แนวรับ แล้วทำ double bottom แล้วก็เด้งขึ้นบนแนวรับ ยก low ยก high ขึ้นไปที่แนวต้านด้านบนแล้วก็ทะลุแนวต้านขึ้นไปได้


กราฟ EA T/F Day



ตัวอย่างที่ 2 หุ้น BEC
  • ลักษณะเดียวกับ RBF คือ มีแรงขายออกมาเมื่อกราฟราคาขึ้นไปชนแนวต้าน แล้วกราฟไหลลงมาที่แนวรับ เด้ง sub แรงขายด้วยการทำ double bottom แล้วยก low ขึ้นทำกรอบบีบตีวบนแนวรับ
  • เป็นการขยายกราฟเพื่อดู cycle ย่อยในกราฟ H1 หรือ 60 นาที เพื่อดู cycle ว่าเมื่อจบ 1 cycle แล้วการย่อจะย่อทะลุแนวรับลงมารึเปล่า ถ้าไม่ทะลุแนวรับก็ยังจะขึ้นต่อไปที่แนวต้านได้

ขยายคลื่นย่อยในกราฟ 60 นาที


กราฟหุ้น BEC T/F Day 
  • ดู cycle ของกราฟในภาพใหญ่ก่อนจะเข้าไปดูคลื่นย่อยที่จุดกลับตัว

BEC กราฟ day





 

วันเสาร์, กุมภาพันธ์ 13, 2564

Pattern กลับตัวในหุ้น ver.3

จุดกลับตัวในกราฟหุ้น ทบทวน องค์ประกอบของการกลับตัว

  1.  ลงมาชนแนวรับของ T/F ใหญ่ระดับ day 
  2. ใน T/F เล็กลงครบคลื่นที่แนวรับสำคัญ
  3. เห็นกราฟทำ pattrn ของ bottom ปกติจะเห็นกราฟทำ double bottom ที่แนวรับก่อนการกลับตัว
  4. เริ่มเห็นการเด้งขึ้นที่แนวรับที่ สร้าง dow ขาขึ้น หรือ ทำคลื่น 1,2 ในมุมของ wave  
  5. indicator confirm pattern ของการกลับตัว
  6. T/F เล็กส่งสัญญาณการกลับตัวไปที่ T/F ใหญ่ที่สอดคล้องกัน 
ตัวอย่างกราฟหุ้น THANI มีองคฺประกอบของจุดกลับตัวดังนี้
  • ลงมาชนแนวรับระดับ day และยังอยุ่ในเทรนขาขึ้น ยังไม่ลง
  • T/F M15 กราฟลงมาชนแนวรับของ day แล้วเด้งขึ้นยืนบนแนวรับได้ และบีบตัวเพื่อเลือกทาง
  • T/F H1 เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรน เมื่อกราฟ M15 ส่งสัญญาณมา
  • T/F H4 C]T Day ทิสทางสอดคล้องกับ T/F เล็ก

กราฟ THANI 4 T/F M15,H1,H4,Day


ตัวอย่างจุดกลับตัว ของกราฟ BAM 4 T/F

กราฟ 4 T/F M15, H1, H4, Day


ตัวอย่างจุดกลับตัว ของกราฟ CBG 4 T/F

กราฟ 4 T/F M15, H1, H4, Day


ตัวอย่างจุดกลับตัว ของกราฟ JMT 4 T/F

กราฟ 4 T/F M15, H1, H4, Day





Pattern กลับตัวในหุ้น ver.2

จุดกลับตัวที่มีประสิทธิภาพ ต้องมีองค์อะไรบ้างในมุมพรานล่าหุ้น 

  1. ลงมาชนแนวรับของ T/F ใหญ่ระดับ day 
  2. ใน T/F เล็กลงครบคลื่นที่แนวรับสำคัญ
  3. เห็นกราฟทำ pattrn ของ bottom ปกติจะเห็นกราฟทำ double bottom ที่แนวรับก่อนการกลับตัว
  4. เริ่มเห็นการเด้งขึ้นที่แนวรับที่ สร้าง dow ขาขึ้น หรือ ทำคลื่น 1,2 ในมุมของ wave  
  5. indicator confirm pattern ของการกลับตัว
  6. T/F เล็กส่งสัญญาณการกลับตัวไปที่ T/F ใหญ่ที่สอดคล้องกัน 
ตัวอย่างหุ้น CKP องค์ประกอบของจุดกลับตัว

  •  T/F H4 คลื่นย่อยลงมาชนแนวรับของ T/F day และครบคลื่นแล้ว
  • เห็นการทำ pattern ของ bottom ที่แนวรับนี้ คือ ลงสั้นลงและติดแนวรับ
  •  แรงซื้อเข้ามาดันราคาขึ้นทะลุแนวต้านขึ้นไปได้
  • indicator confirm การกลับตัว
กราฟ T/F H4 จะเห็นตำแหน่งแนวรับ และเห็นพฤติกรรมของกราฟที่ไม่ลงต่อ และเริ่มจะกลับตัว 


CPK T/F H4

จุดกลับตัวล่าสุดในกราฟ CKP

  • ลงมาที่แนวรับระดับ day 
  • T/F M15 และ H1 เห็นการทำ double bottom ที่แนวรับ
  • เริ่มสร้างฐานของ dow ขาขึ้นไปที่แนวต้านถัดไป
  • เมื่อชนแนวต้าน จะมีแรงขายออกมาแต่เมื่อลงมาชนแนวรับ ก็จะรับอยู่และมีแรงซื้อกลับดันราคาขึ้นไปที่แนวต้านถัดไปอีกครั้ง
  • เริ่มเห็นการทำ dow ขาขึ้นสำเร็จและ กราฟเริ่มเปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้นได้
  • T/F H4 และ day สอดคล้องไปทางเดียวกับ T/F M15 และ H1 


กราฟ CKP 4 T/F M15,H1,H4,Day 


จุดกลับตัว CKP เดือน มากราคม จุดสังเกตุการกลับตัว
  • ลงมาที่แนวรับระดับ day และหยุดลงเพราะมีแรงซื้อสวนกลับขึ้นมา
  • T/F M15 เห็นคลื่นขาลง ลงครบคลื่นที่แนวรับอของกราฟ day
  • T/F H1 ทิศทางกราฟสอดคล้องกับกราฟ M15 
  • indaicator confirm การกลับตัว  

กราฟ CKP 4 T/F M15,H1,H4,Day 


จุดกลับตัว CKP เดือน พฤศจิกายน จุดสังเกตุการกลับตัว
  • ลงชนแนวรับระดับ day และลงครบ 5 คลื่นในกราฟ H4
  • เกิดการทำ pattern กลับตัวที่แนวรับของ day
  • T/F M15 ลงด้วยคลื่น 3 ชนแนวรับของ day และกระโดดเปิด gap ขึ้นทะลุแนวต้านได้
  • T/F M15 ขึ้นชนแวต้านและย่อลงมาจากแรงขาย แต่ low ยกขึ้นและแรงขายลดลง
  • T/F H1 เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนสอดคล้องกับ T/F M15 
  • กราฟ T/F H4 และ day ก็เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนพร้อมกัน  


กราฟ CKP 4 T/F M15,H1,H4,Day




วันพุธ, กุมภาพันธ์ 10, 2564

แกะรอยกราฟทอง ( xau/usd ) 09-02-21

กราฟทอง 3 T/F M5,M15,H1

สัญญษณขาลงที่แกะได้มีดังนี้

T/F M5 

  • ขึ้นครบคลื่นที่แนวต้าน และ เกิด double bottom แล้วมีสัญญาณการเปลี่ยนเทรนเกิดขึ้น

T/F M15

  • ขึ้นครบคลื่นที่แนวต้าน และ เกิด double bottom ที่แนวต้านและก็เกิดสัญญารเปลี่ยนเทรน
T/F H1

  • ขึ้นครบคลื่นและชนแนวต้านของ T/F day 


กราฟ 3 T/F M15,M5,H1

 

สัญญาณกลับตัว กราฟ 3 T/F M5,M15,H1

  • T/F M5 ลงครบคลื่นชนแนวรับแล้วเด้งขึ้นที่แนวรับ เกิด double bottom แล้วเริ่มเปลี่ยนเทรน
  • T/F M15 ก็ลงครบคลื่นแล้วก็เริ่มจะเด้งขึ้น ตาม T/F M5
  • T/F H1 ขึ้นครบ 5 คลื่นแต่เมื่อชนแนวต้านมีแรงขายออกมา แล้วลงมาที่แนวรับ indicator ไม่หลุดแนวรับของขาลง ก็จะกลับตัวขึ้นใหม่อีกครั้ง




กราฟ 3 T/F M15,M5,H1


นับคลื่นใหญ่เพื่อดูทิศทางหลักของกราฟ

  • T/F H1 ขึ้นครบ 5 คลื่นที่แนวต้านต้องย่อ เพื่อเปลี่ยบนเทรน
  • T/F H4 ขึ้นมาทำคลื่น 4 ที่แนวต้านของกราฟ day 
  • T/F Day ยังยืนที่แนวต้านได้ ยังไม่ใช่ขาลงจากแรงขายที่แนวต้านนี้


กราฟ 3 T/F H1,H4,Day




วันอังคาร, กุมภาพันธ์ 09, 2564

จุดกลับตัว ใน xau ( ทองคำ )

 จุดกลับตัวต้องมีองค์ประกอบอะไรในมุมของ พรานล่าหุ้น

  • ชนแนวรับของ T/F ใหญ่ หรือเป็นแนวรับร่วม
  • ลงครบคลื่นที่แนวรับ สำคัญ
  • เกิดการลงที่สั้นลงเรื่อยๆ เมื่อเจอแนวรับ เหมือนว่าแรงขายเริ่มหมดแรงแล้ว
  • เห็นการหยุดลง ด้วยทำ double bottom ที่แนวรับ
  • เห็นการสร้างของขาขึ้นโดย การสร้างฐานของ dow ขาขึ้น 

ตัวอย่างจุดกับตัวของกราฟ xau อธิบายตาม T/F ได้ดังนี้

T/F M5

  • T/F M5 ลงครบคลื่น คือ ลงมานับคลื่นย่อยได้ 3 คลื่นและลงครั้งที่ 2 ได้ 3 คลื่น
  • เกิด double bottom 
  • เริ่มเห้นการสร้างฐานของ dow ขาขึ้น
T/F M15

  • นับคลื่นของการลงได้ 3 คลื่น
  • เห็นการทำ dow ขาขึ้นยก low ขึ้น
T/F H1

  • ชนแนวต้านแล้วมีแรงขาย กราฟลงมาที่แนวรับสำคัญของ T/F H1  


กราฟ 3 T/F M5,M15,H1


ตัวอย่างกราฟ xau กลับตัวขึ้นใน T/F M5 องค์ประกอบของการกลับตัว

  • ลงคลื่น 3 ยืดแล้วชนแนวรับของ H1
  • เกิดการเด้งขึ้นแล้วยืนบนแนวต้านได้กลายเป็นคลื่น 2 เพื่อที่จะยืดคลื่น 3 ขึ้น
  • indicator ทั้ง 2 ตัว confirm การเด้งขึ้น

กราฟ 3 T/F M5,M15,H1


ตัวอย่างการเด้งขึ้นชนแนวต้านแล้วกลับตัวลงด้วยกราฟ M5

  • เกิดการชนแนวต้าน 3 ครั้งแล้วไม่ผ่าน
  • เกิดการทำ dow ขาลง คือ เกิดการทำขา 2  ในทิศทางของขาลง


กราฟ 3 T/F M5,M15,H1

ตัวอย่างการเด้งขึ้นจาก T/F M5 เชื่อม 3 T/F 

  • T/F M5 ลงมาด้วยคลื่นขาลง 2 ชุด แล้วชนแนวรบของ H1
  • T/F M15 ลงมาชนแนวรับของ T/F H1 เช่นกัน
  • T/F H1 กราฟ ลงมาที่แนวรับสำคัญที่จะกลับตัวได้เพราะ คลื่นย่อยใน M5 ลงครบแล้ว

กราฟ 3 T/F M5,M15,H1




วันจันทร์, กุมภาพันธ์ 08, 2564

pettern จุดกลับตัวในหุ้น

 มี 3 รูปแบบที่พบเจอบ่อยๆ

  1. ลงแรงเกิดคลื่น 3 ยาว ชนแนวรับแล้วเด้งขึ้นยืนบนแนวต้านได้
  2. ลงคลื่น 3 ชนแนวรับแล้วเด้งทำคลื่น 4 ในกรอบยาวๆ แล้วลงต่อด้วยคลื่น 5 แล้วกลับตัว
  3. ลงด้วยคลื่น 3 แล้วออกข้าง sub แรงขาย แล้วบีบตัวสร้างฐานของขาขึ้น
ตัวอย่างกราฟหุ้น JMT

  • เกิดสัญญาณกลับตัวในแบบที่ 2 และ แบบที่ 3

รายละเอียดจากกราฟ 60 นาที


ตัวอย่างกราฟหุ้น JMT 
  • เกิดสัญญาณกลับตัวในแบบที่ 2 และ แบบที่ 1

รายละเอียดจากกราฟ 60 นาที


ตัวอย่างกราฟหุ้น JMT 
  • เกิดสัญญารกลับตัวในแบบที่ 1 และ แบบที่ 3
รายละเอียดจากกราฟ 60 นาที


ตัวอย่างกราฟหุ้น RBF 
  • เกิดสัญญาณกลับตัวที่แนวรับในแบบต่างๆ

กราฟ day


ตัวอย่างกราฟหุ้น CHG 
  • เกิดสัญญาณกลับตัวที่แนวรับในแบบต่างๆ

กราฟ day


ตัวอย่างกราฟหุ้น CBG
  • เกิดสัญญาณกลับตัวในแบบต่างๆ

กราฟ day

pattern ของจุดกลับตัว ในกราฟทอง

 Pattern การกลับตัวที่แนวรับในกราฟ ทอง หรือ ( XAU/USD )

ลักษณะของการกลับตัวที่แนวรับในกราฟ ทอง เอากราฟ T/F M5 มาให้ดู แบ่งออกเป็นแบบหลัก ได้ 3 รูปแบบดังนี้

  1. เป็นขาลง high ต่ำลง low ต่ำลงเรื่อยๆไปที่แนวรับแล้วเด้งขึ้นเพื่อเปลี่ยนเทรน
  2. เด้งขึ้นลงในกรอบ sideway แล้วเกิดกรอบบีบตัวเพื่อเปลี่ยนเทรน
  3. ลงแรงมาที่แนวรับแล้วเด้งขึ้นด้วยแรงซื้อจำนวนมาก ขึ้นทะลุแนวต้านแล้วยืนบนแนวต้านได้

ตัวอย่างการกลับตัวที่แนวรับทั้ง 3 แบบ

  • sideway แล้วเกิดกรอบบีบตัวขึ้น
  • sideway ออกด้านข้างเป้นการ sub แรงขายที่แนวรับแล้วยก low ขึ้นเพื่อเปลี่ยนเทรน
  • ลงชนแนวรับที่มี demand จำนวนมากแล้วมีแรงซื้อจำนวนมากเข้ามากราฟเด้งขึ้นทะลุแนวต้านสำคัญแล้วยืนได้ เพื่อเปลี่ยนเทรน 



ตัวอย่างกราฟที่ 2
  • sideway ออกด้านข้างแล้วบีบตัวเพื่อเลือกทาง
  • กราฟเป็นขาลงไปเรื่อยจนชนแนวรับแล้ว เกิด double bottom แล้วกราฟเกิดการเปลี่ยนเทรน
  • กราฟลงมาที่แนวรับแล้วทำ double bottom low ยกขึ้นเป็นสัญญาณของการเปลี่ยนเทรน



ตัวอย่างกราฟ รูปที่ 3



ตัวอย่างกราฟรูปที่ 4



ตัวอย่างกราฟรูปที่ 5


ตัวอย่างกราฟในกราฟ TFEX 

  • ตัวอย่างจุดเปลี่ยนเทรนในกราฟ M1 



  • ตัวอย่างการกลับตัวที่แนวรับในกราฟ M5



วันอาทิตย์, กุมภาพันธ์ 07, 2564

นับคลื่นย่อย ใน day ว่ามีกี่คลื่น

นับคลื่นในกราฟ day เพื่อดูการลงว่าใกล้ถึงจุดกลับตัวแล้วรึยัง
  • จากการนับลักษณะการลงของคลื่นในกราฟ day จะนับการลงที่เรียกว่า cycle ซึ่งเป็นองค์ประกอบของกราฟ day ได้ทั้งหมด 4 cycle ก็จะถึงกลับตัวตามรูปกราฟด้านล่าง
จุดสังเกตุการนับคลื่นขาลงมีดังนี้
  • การลงของกราฟ จะลงมาที่แนวรับของ T/F นั้นๆจะนับเป็นคลื่น 3 แล้วจะเกิดการเด้งจากแรงซื้อที่แนวรับนั้นๆ 
  • ส่วนจะขึ้นหรือลงต่อต้องดู pattern ที่กราฟสร้างขึ้นมา
  • ถ้าสรา้ง pattern ของขาขึ้นก็จะเห็นการยก low ยก high ขึ้นมาที่แนวรับนั้นๆ
  • ถ้าสร้าง pattern ของขาลง ก็จะเห็นการเด้งขึ้นแล้วติดแนวต้าน มีแรงขายออกมากราฟทะลุแนวรับลงมาที่แนวรับถัดไปแล้วเด้งขึ้นติดแนวต้านอีก มีแรงขายออกมากราฟ ก็วิ่งลงไปที่แนวรับถัดไปเรื่อยๆ จนถึงจุดที่รับอยู่แล้วหยุดลง แล้วเริ่มมีแรงซื้อเข้ามา และก็เริ่มสร้างฐานของเทรนขาขึ้นด้วยการทำ dow ขาขึ้นที่อนวรับนั้นๆ
ถ้าใช้ indicator เข้ามาช่วยดูจังหวะกลับตัวก็จะทำให้ ง่ายขึ้นในการอ่านจังหวะกลับตัวเพราะทำให้มีเครื่องมือในการอ่านสัญญาณกลับตัว จาก paterrn ของกราฟ และ confirm ด้วย indicator อีกครั้งหนึ่ง

กราฟ day


จากรูปด้านล่างเป็นดารนับคลื่นขาลงจาก 3 T/F 

  • T/F day นับการลงมาที่แนวรับแล้วเกิดการเด้งขึ้นนับเป็นคลื่น 3 เด้ง คลื่น 4อยู่ที่แนวรับ
  • T/F H4 นับการลงที่เป็น cycle ได้ 3 cycle 
  • T/F H1 นับการลงมาชนแนวรับ แล้วเด้งขึ้นติดแนวต้านลงต่อไปที่แนวรับถัดไปจนถึงเกิดการลงมาที่แนวรับแล้วไม่ทำ low ก็จะเริ่มเห็นการเปลี่ยนเทรนจากลงเป็นขึ้นแทน   


กราฟ 3 T/F H1,H4,day


ดูองค์ประกอบของคลื่นย่อยจาก T/F ที่เล็กลงมา

  • T/F M1 เอาไว้ดูจุดเปลี่ยนเทรน ถ้าดูจาก M5 ไม่ชัดและกราฟลงมาที่แนวรับของ T/F H1
  • T/F M5 เอาไว้ดูแนวรับแนวต้านที่กราฟย่อลงมาที่แนวรับแล้วกลับตัวได้ก็จะขึ้นต่อ
  • T/F M15 เอาไว้ดุคลื่นของ H1 เพื่อดูคลื่นย่อยเอาไว้ประกอบกับกราฟหลัก อย่าง H1


กราฟ 3 T/F M1,M5,M15

 

วันอังคาร, กุมภาพันธ์ 02, 2564

สัญญาณเปลี่ยนเทรน ในหลายรูปแบบ

สัญญาณเปลี่ยนเทรนจะเริ่มจาก T/F เล็กไป T/F ใหญ่เสมอ แต่ มันคือองค์ประกอบของ T/F เท่านั้น

ใน T/F เล็กจะเกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนบ่อยกว่า T/F ใหญ่เนื่องจากใน T/F เล็กจะเกิดจำนวนของคลื่นมากกว่า T/F ใหญ่ทำให้เกิดสัญญาณบ่อยกว่ามาก มันจึงเกิดสัญญาณหลอกที่เข้าใจกันว่า เกิดสัญญาณซื้อ แต่พอกราฟเด้งขึ้นพอชนแนวต้านก็กลับ ก็กลับไปเป็นเทรนเดิม ทำให้เหล่าเทรดเดอร์ที่ยังไม่เข้าใจมากพอ จะเข้าใจสัญญาณการเปลี่ยนเทรนที่ผิดไป 

เงื่อนไขในการเปลี่ยนเทรนจาก T/F เล็กไป T/F ใหญ่ 

  • ต้องเกิดสัญญาณการเปลี่ยนเทรนจาก T/F เล็กก่อนเสมอ ในกราฟเป็น T/F 15 นาที
  • เป็นช่วงของที่คลื่นใน T/F ใหญ่ลง หรือ ขึ้นครบแล้ว คือ ชนแนวรับ หรือ แนวต้านที่มีนัยยะ ถ้าจะสอดคล้องกับ 15 นาที ควรใช้ T/F H1
  • T/F ที่ใหญ่กว่า H1 คือ H4 เอามาเชื่อม เพื่อดูรายละเอียดของคลื่น และ จุดแนวรับแนวต้านสำคัญ ดูพฤติกรรมของกราฟ ตามแนวรับและแนวต้าน ว่าจะกลับตัว หรือ ทะลุต่อไป
  • T/F day เอามาดูคลื่นในภาพใหญ่ ที่นักลงทุนส่วนใหญ่ใช้กัน เพื่อดูคลื่นในภาพใหญ่ระดับ day ว่ามวลชนมีพฤติกรรมอย่างไร เมื่อกราฟลงมาชนแนวรับ หรือ ขึ้นชนแนวต้าน

pattern ของการเปลี่ยนเทรนมีหลายรูปแบบ

1.ลงมาชนแนวรับแล้วหยุดลงเกิดการบีบตัวเพื่อเปลี่ยนเทรน

ตัวอย่าง กราฟ GUNKUL

  • เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรน จากกราฟ 15 นาที 2 ครั้ง
  • เกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนจากกราฟ H1 1 ครั้ง
  • การเด้งขึ้นของกราฟ H1 เป็นจุดเดียวของการทำ doubottom ในกราฟ H4
  • ในกราฟ day คลื่นของฝั่งลงมาชนแนวรับแล้วเด้ง นับเป้นคลื่น 4 ในมุมของ wave 



กราฟ BPP

  • กราฟ 15 นาทีเกิดการลงมาที่แนวรับ แล้วเกิดการทำ double bottom เป็นสัญญาณการหยุดลง และรอจังหวะการเด้งขึ้นจาก pattern ของกราฟ
  • กราฟ H1 ลงมาที่แนวรับแล้วไม่ลงต่อ เกิดกรอบบีบตัวเพื่อเลือกทาง
  • กราฟ H4 เกิดการลงมาที่แนวรับแล้วไม่ลงต่อ เกิดการบีบตัวเพื่อเลือกทาง
  • กราฟ day เกิดการ sub แรงขายที่แนวรับของ dow ขาขึ้นเพราะยังไม่หยุดเทรนขาลงจาก indy MACD



 กราฟ GLOBAL
  • กราฟ 15 นาที ลงมาที่แนวรับแล้วหยุดลงเกิดการบีบตัวที่แนวรับของ dow ขาขึ้น
  • กราฟ H1 เกิดกรอบบีบตัวระหว่างแนวรับและแนวต้านเพื่อเลือกทาง
  • กราฟ H4 กรอบบีบตัวยังอยู่ในเทรนขาขึ้น
  • กราฟ day ก็ยังขึ้นอยู่



กราฟ BANPU
  • กราฟ 15 นาทีเกิดกรอบบีบตัวที่แนวรับสำคัญ
  • กราฟ H1 บีบตัวแล้ววิ่งขึ้นชนแนวต้านแล้วยืนได้
  • กราฟ day ยังอยู่ในยเทรนขาขึ้นเพราะ macd ยังหลุด 0


กราฟ CHG
  • กราฟ 15 นาทีเกิด double bottom แล้วหยุดลง
  • กราฟ H1 เกิดกรอบบีบตัวที่แนวรับของ dow ขาขึ้น
  • กราฟ H4 ยังยืนบนแนวรับของขาขึ้นอยู่
  • กราฟ day ก็ยังเป็นเทรนขาขึ้นอยู่ 



2.ลงมาที่แนวรับครลคลื่น แล้วเด้งขึ้นทะลุแนวรับสร้างฐานของคลื่น 1,2 ในรูปแบบคลื่น

ตัวอย่างกราฟหุ้น IVL
  • กราฟ 15 นาทีลงมาชนแนวรับของ T/F day แล้วเด้งขึ้นชนแนวต้านมีแรงขายออกมาแต่ยืนบนแนวต้านที่เปลี่ยนเป็นแนวรับได้ แล้วก็เริ่มกลับตัว
  • กราฟ H1 ลงครบคลื่นแล้วก็เด้งขึ้น
  • T/F day macd ลงมาชนแนวรับแต่ไม่หลุด 0 แล้วกลับตัวก็ยังเป็นเทรนขาขึ้นอยู่


กราฟ PTT
  • กราฟ 15 นาทีลงชนแนวรับแล้วเด้งขึ้นยืนบนแนวต้านได้ เพื่อขึ้นต่อ
  • กราฟ H1 เกิดสัญญาณการเด้งขึ้นตามกราฟ 15 นาที
  • กราฟ H4 ลงมาชนแนวรับสำคัญและเป็นแนวรับของ day ด้วย



3.