หน้าเว็บ

วันพุธ, กรกฎาคม 29, 2563

หาสัญญาณเปลี่ยนเทรนใน usd/jpy

หาสัญญาณการเปลี่ยนเทรนจากตำแหน่งกลับตัว มีจุดสังเกตุดังนี้
  1. ต้องลงมาที่บริเวณแนวรับของ T/F H1 ซึ่งต้องสอดคล้องกับ T/F ใหญ่กว่าด้วย
  2. เห็นพฤติกรรมของแรงซื้อที่แนวรับนี้ชัดเจน ว่ามีแรงซื้อปฏิเสธการลงของราคา
  3. เห็นการเคลื่อนไหวใน T/F ว่าแรงขายลดลงที่บรเวณแนวรับนี้ อย่างชัดเจน
  4. T/F ระดับ 1 นาทีขึ้นไป เริ่มเห็นจุดเปลี่ยนเทรนชัดเจนขึ้น
  5. จุดเปลี่ยนเทรนต้องเริ่มจาก T/F ส่งต่อไปที่ T/F ใหญ่เป็นทอดๆไป
การหาตำแหน่งของจุดเปลี่ยนเทรน เมื่อแรงขายดันราคากราฟลงมาที่แนวรับสำคัญของ T/F ใหญ่ในที่นี้จะใช้ T/F H1 ในการหาจุดเปลี่ยนเทรน ไม่ว่าจะเป็นจุดเด้ง หรือ เปลี่ยนเทรนเป็นขาขึ้น ถ้าเข้าไปดูในกราฟระดับ 1 นาทีจะเห็นจุดเปลียนเทรนจำนวนมาก ต้องเลือกจุดเปลี่ยนเทรนที่สอดคล้องกับ T/F ใหญ่เท่านั้น ถึงจะเป็นจุดเทรนที่ดี และเมื่อกราฟหยุดลงแล้วแล้วออกข้างเพื่อ sub แรงขายก็อาจจะเป้นจุดเปลี่ยนเทรนจากลงเป็นขึ้นได้เลย

ในการเล่นเกร็งกำไรระยะสั้นๆ เมื่อกราฟลงมาที่จุดเปลี่ยนเทรน อาจจะเป็นจุดเด้ง หรือ กลับตัวเลยก็ได้ มีข้อปฎิบัติดังนี้
  1. ถ้า T/F ใหญ่ลงมาถึงเป็นจุดเด้ง ให้หาจังหวะใน T/F เล็กเพื่อหาจังหวะเข้าในจังหวะเด้งขึ้น
  2. จุดเปลี่ยนเทรนที่จะทำกำไรได้ดี ต้องเกิดจาก T/F เล็กและสอดคล้องกับ T/F เท่านั้น มันถึงจะเป็นจุดเปลี่ยนเทรนที่ดี และมีความเสี่ยงต่ำ
  3. ที่ตำแหน่งนี้อาจจะเกิดการ swing ขึ้นลงหลายครั้งให้ หาจังหวะเข้าซื้อในขาขึ้นเท่านั้น
  4. เมื่อกราฟขึ้นมาชนแนวรับของ T/F ใหญ่และ T/F เล็กขึ้นครบคลื่นแล้ว จะเป็นจังหวะขายทำกำไรเพราะกราฟยังไม่ขึ้นเป้นเทรนแต่จะอยู่ในช่วง swing เพื่อเลือกทาง
ตัวอย่างกราฟ รูปที่ 1 ที่กราฟใน T/F  ระดับ H1 ลงมาที่แนวรับที่มี demand เพียงพอที่จะเด้งขึ้น หรือ เปลี่ยนเทรนได้

 เงื่อนไขในการหาจังหวะเพื่อเกร็งกำไร
  • กราฟ T/F H1 ลงมาที่แนวรับสำคัญที่มี demand เพียงพอที่จะเป็นจุดเปลี่ยนเทรนได้
  • กราฟ 1 นาทีเกิดสัญญาณซื้อทั้ง 3 อย่าง
        1. กราฟแท่งเทียน
        2. RSI
        3. MACD
  • กราฟ 5 เกิดสัญญาณซื้อจาก 2 indy เช่น
  • กราฟ H1 เกิดสัญญาณการเปลี่ยนเทรนชัดๆ ที่ RSI  

usd/jpy 4 T/F 1,5,15,H1


ตัวอย่างกราฟที่ 2 จุดเปลี่ยนเทรน และสัญญาณการเปลี่ยนเทรนจาก T/F เล็กที่สอดคล้องกับ T/F ใหญ่

usd/jpy 4 T/F 1,5,15,H1


ตัวอย่างกราฟที่ 3 จุดเปลี่ยนเทรนที่ส่งออกมาจาก T/F เล็กแต่ขัดแย้งกับ T/F ใหญ่ 15 นาที และ H1 อย่างนี้กราฟจะเด้งขึ้นจาก T/F 1 นาทีและ 5 นาทีเมื่อขึ้นไปติดแนวต้านของ T/F 15 นาทีและ H1 แล้วกราฟอาจจะเปลี่ยนเทรนตาม T/F ใหญ่ตามเดิม

usd/jpy 4 T/F 1,5,15,H1



ตัวอย่างกราฟที่ 4 เกิดจุดเปลี่ยนเทรนจาก T/F เล็กแล้วสอดคล้องกับ T/F ใหญ่ทั้งหมด 4 T/F ได้แก่
  • เกิดสัญาณซื้อจาก T/F 1 นาที
  • T/F 5 นาทีเกิดสัญญาณที่สอดคล้องกัน
  • T/F 15 นาที ก็เกิดสัญญาณซื้อเหมือนกัน
  • T/F H1 เป็นจังลงมาชนแนวรับแล้วจะเด้งขึ้นเป็นจังเดียวกับ T/F ทั้ง 3 T/F  

usd/jpy 4 T/F 1,5,15,H1




วันศุกร์, กรกฎาคม 24, 2563

ทรงของหุ้นที่ขึ้นได้วันนี้

ข้อสังเกตุ ของหุ้นบ้างตัวที่ไม่ลงและเด้งส่วนตลาด ในวันที่ตลาดแดง
  • เกิดการ sub แรงขายแล้วไม่หลุดแนวรับเดิม
  • เป็นหุ้นตัวนำตลาด เมื่อย่อลงมาที่กรอบ แนวรับก็เด้งขึ้นได้
  • เกิดการทำคลื่น 1 และ ย่อ 2 มาก่อนที่จะเด้งขึ้น
  • เกิดการ บีบตัวระหว่างแนวรับและแนวต้าน เพื่อเลือกทาง
หุ้น ACE

ACE 4 T/F

หุ้น TQM

TQM 4 T/F

หุ้น JMT

JMT 4 T/F



ลักษณะ swing ช่วงบีบตัวในกรอบแคบๆ

ลักษณะที่พบเจอ

เมื่อกราฟเคลื่อนที่เข้ามาในช่วงของแนวรับและแนวต้าน ที่แคบ คือ มีช่วง swing น้อย หรือ แนวรับและแนวต้าน สั้นๆ การ swing ขึ้นลงก็จะเร็วและแรง เป็นช่วงผันผวนของกราฟ ก่อนเลือกทางไปทางใดทางหนึ่ง

หาแนวรับและแนวต้านที่เกิดการ swing แคบๆใน T/F H1



เข้าไปดูใน T/F เล็ก 4 T/F 
  • 5,15,H1,H4 เพื่อดูการเคลื่นอที่ของคลื่นภายใน
  • กราฟ 1 นาที นับคลื่นเพื่อดูการเคลื่อนที่ของกราฟ ผ่านแนวรับและแนวต้าน
  • กราฟ 5 นาทีดูเทรนและคลื่น 1 cycle ที่ swing ชนแนวรับแนวต้าน
  • กราฟ 15 นาที เอาไว้ดูการสร้างคลื่น ที่ชนแนวรับและแนวต้าน บนล่างหาจุดเปลี่ยนเทรน
  • กราฟ H1 เอาไว้ดูแนวรับแนวต้าน และ ทิศทางของกราฟเป็นหลัก



รูปที่ 1 ลักษณะของการเปิด โดดติดแนวต้านแล้วยืนไม่ได้เปลี่ยนเป็นขาลงไปที่แนวรับที่เป้นแนวรับของกรอบ บีบตัว



รูปที่ 2 ลักษณของการขึ้นแบบแข็งแรงที่แนวรับ เกิดคลื่นยืดในกราฟ 1 นาที 



รูปที่ 3 ลักษณะการขึ้นอย่างแข็งแรง ชนแนวต้าน คลื่นขึ้นครบคลื่นเป็นจังหสะเปลี่ยนเทรนของขา ลงจะเห็นสัญญาณการเปลี่ยนเทรนชัดเจนที่กราฟ 1 นาทีก่อนส่งต่อไปที่ T/F ใหญ่กว่า





วันพฤหัสบดี, กรกฎาคม 23, 2563

TFEX 23-07-20

สัญญาณการเปลี่ยนเทรน ในกรอบ sideway

story ที่เกิดขึ้นจากรูปที่ 1
  • ตอนเช้าเปิดโดดชนแนวต้านแล้วยืนไม่อยู่
  •  มีแรงขายออกมาในจังหวะของคลื่น 4 ลง 5 จะลงเร็วและแรง volume pake 
  • เป็นจังหวะของการรอเล่นเด้งขึ้น เพราะ indy บอกว่าลงมาถึงเด้งแล้ว
  • รอการสรา้งที่แนวรับของขาขึ้น เพื่อรอการเปลี่ยนเทรนจากลงเป็นขึ้น  



story ของ รูปที่ 2

  • จังหวะเด้งขึ้นแล้วย่อตัวจากแรงขาย แต่เมื่อลงมาที่แนวรับแล้วยืนได้
  •  เป็นจังหวะของการเปลี่ยนเทรนระยะสั้น
  • เมื่อชนแนวต้านของกราฟ 5 นาทีแล้วยืนไม่อยู่ ก้เป็นจังของการเปลี่ยนเทรนเป็นเทรนลงเดิม
  • ขึ้นครบ 5 คลื่นในกราฟ 1 นาที ก็เปลี่ยนเป็นขาลง  



story ของรูปที่ 3
  • เมื่อเกิด pattern ของ dow ขาลงและเทรนใหญ่ก้ยังลงอยู่ เป็นจังหวะของการเปลี่ยนเทรนเป็นลง
  • รอกราฟลงมาที่แนวรับ ให้เกิด abc เล็กที่แนวรับ
  • รอจังเด้งสรา้งคลื่นขาขึ้นที่ทะลุ แนวต้านไม่ได้
  • นับคลื่น 3 ย่อ 4 และเด้ง 5 ถ้าไม่ผ่านแนวต้าน ก็รอจังหวะของขาลงจากสัญญาณจากกราฟ 






dow ขาขึ้นและ dow ขาลง ในหุ้น

dow theory เป้นหลักการทั่วไปในการขึ้นลงของกราฟหุ้น ถ้าเข้าหลักการอย่างถ่องแท้แล้ว ก็สามารถหาจังหวะเข้าได้ดีขึ้น หรือ เห็นการเปลี่ยนเทรนทีเกิดขึ้นต้นๆ เทรนก่อนได้ทำให้เกิดความเสียหายกับนักเทรดน้อยลง  

เงื่อนไขของ dow theory ขาขึ้น
  • low ต้องขึ้นเรื่อยๆ ห้ามหลุดลงมา
  • เกิดการบีบตัวและเลือกทางขึ้นเสมอ
  • เมื่อขึ้นไปชนแนวต้านด้านบนแล้วเกิดการพักตัวต้องยืนบนแนวรับที่ยก low ขึ้นเท่านั้น
  • T/F เล็กและ T/F ใหญ่ต้องสอดคล้องกัน
ตัวอย่างกราฟที่ทำ dow ขาขึ้น

กราฟหุ้น PSL 4 T/F 5,15,H1,H4 

กราฟหุ้น RS 4 T/F 5,15,H1,H4

ลักษณะของ dow theory ขาลง
  • ชนแนวต้านสำคัญของ T/F ใหญ่ แล้วมีแรงขายจำนวนมากออกมาเกิด แท่งเทียนหางแดงยาวลงมา
  • กราฟทะลุแนวรับสำคัญของฝั่งขึ้นลงมาได้
  • เกิดการทำ dow ขาลง คือ high ต่ำลงเรื่อยๆ
  • เมื่อลงที่แนวรับสำคัญ เกิดการบีบอัดที่แนวรับแล้วไม่สามารถขึ้นทะลุแนวต้านได้ ก็จะมีแรงขายออกมากดราคาทะลุแนวรับสำคัญลงไปได้
ตัวอย่าง dow ขาลง

หุ้น BEC 4 T/F 5,15,H1,H4



วันพุธ, กรกฎาคม 22, 2563

run trend กับกราฟ 1 นาที

   สังเกตุจุดต่างๆที่พอเห้นสัญญษณการเปลี่ยนเทรน
  • ขึ้นมาชนแนวต้านของ H1
  • มีแรงขายที่สามารถเปลียนเทรนได้ขายลงมา
  • เกิดการทำ dow ขาลงที่ตำแหน่งเดียวกับ แนว supply ของ H1

รูปจุดเปลี่ยนเทรน และการ run trend ในกราฟ 1นาที
  • ใช้  indicator macd เป็หลักในการ run 
  • โดย macd ต้องมุดลงตัด 0 ครั้งแรกเป็นจุดเปลี่ยนเทรนของฝั่งลงครั้งแรก
  • เมื่อลงมาถึงแนว deamnd แล้วเด้งขึ้นแต่ไม่สามารถยืนได้ที่เส้น 0 ก็ยังคงจะลงต่อ 
  • เมื่อลงมาเรื่อยๆแล้วเกิด การลงที่สั้นลงเรื่อย เป็นสัญญาณว่าใกล้จะจบขาลงแล้ว
  • เมื่อมีแรงขาย ลักษณะ selling climax ออกมาแล้วติดแนวรับเป้นสัญญารการจบขาลง
  • ต่อไปก็รอสัญญาณการเปลี่ยนเทรนของฝั่งขาขึ้น




รูป สัญญาณการเปลี่ยนเทรนที่กราฟส่งออกมา จาก กราฟ 4 T/F  7 สัญญาณ 


จุดเปลี่ยนเทรนของฝั่งขาขึ้น





วันอังคาร, กรกฎาคม 21, 2563

TFEX 20-07-20

สัญญาณจากการเปลี่ยนเทรนในช่วง sideway กรอบใหญ่

จากรูปเมื่อกราฟขึ้นไปชนแนวต้านของ H1 ก็มีแรงขายออกมาทันทีและกราฟก็เปลี่ยนเป็นขาลงทันที เนื่องจากในกรอบ sideway จะเกิด การขึ้นที่ไม่สมบูรณ์ อาจจะครบคลื่น หรือ ไม่ครบก็ได้ขึ้นอยู่กับ แนวต้านใน T/F เป็นสำคัญ ว่ามี supply มากน้อยแค่ไหน

ในรูปจะเห็นการการเกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนเป็นขาลงจาก T/F 1 นาทีซึ่งยังไว้ไม่ได้ต้องดูองค์ประกอบโดยรวมมาประกอบด้วยมิฉะนั้นการ มันอาจเป็นแค่เพียงการเด้งขึ้นระยะสั้นใน T/F ก็ได้

องค์ประกอบของสัญญาณการเปลี่ยนเทรนจาก 4 T/F 
  • เกิดสัญญาณขาลงที่กราฟ 1 นาที ทั้งกราฟ และ indicator พร้อมกัน
  • เกิดสัญญาณจากกราฟ 5 นาทีช่วยสนับสนุนการเปลี่ยนเทรนด้วย
  • ในกราฟ 15 นาทีต้องจุดเปลี่ยนเทรนกลับเด้งขึ้นติดแนวต้านแล้วลงต่อเลย เป็นการบอกว่ายังเป็นเทรนขาลงอยู่



ข้อสังเกตุ การนับคลื่นในกราฟ 1 นาที
  • เมื่อนับคลื่นขาลงครบ 5 คลื่นดูการเด้งขึ้นว่าผ่าน แนวต้านของขาลงได้ไหม ถ้าผ่านได้เทรนก็จะเปลี่ยนแต่ถ้าผ่านไม่ได้ มันก็จะลงต่อไปเรื่อยๆ
จากรูปจะเห็นว่า กราฟ 1 นาทีลงครบคลื่นแล้ว แต่เด้งขึ้นไม่ผ่านแนวต้านของขาลง ก็ลงต่อไปเป้นคลื่น 3 ในกราฟ 5 นาที 



เกิดสัญญาณขาลงสั้นๆ เมื่อกราฟขึ้นไปชนแนวต้านใน T/F H1



นับสัญญาณที่กราฟส่งออกมาจาก 4 T/F 
  • ข้อสังเกตุจะต้องเกิดสัญญารการเปลี่ยนเทรน มากกว่า 3 สัญญาณ 
  • เกิดสัญญาณการเปลี่ยนเทรนจาก T/F เล็กไป T/F ใหญ่ต้องสอดคล้องกันเสมอ
  • สัญญาณเปลี่ยนเทรนต้องเกิดที่ กราฟ 5 และ 15 ด้วย
  • กราฟ 1 นาที เอาไว้ดู รายละเอียดของคลื่น และ ตำแหน๋งเปลี่ยนเทรนที่ชัดเจน 



สัญญาณของการขึ้นต่อจาก T/F 1 นาที
  • เกิดการ sub แรงขายจากแนวต้านแล้วยืนได้
  • เมื่อ subc แรงขายไปแล้ว 2 ลูกคลื่น เริ่มยืนได้และเริ่มเปลี่ยนเทรนทำ dow ขาขึ้นได้
  • เกิดการบีบตัวเพื่อเลือกทาง แต่เมื่อเกิดการทำ dow ขาขึ้นกราฟก็จะขึ้นต่อไปที่แนวต้านถัดไป  






วันจันทร์, กรกฎาคม 20, 2563

TFEX 17-07-20

จังหวะ sub แรงขายในกรอบ sideway แล้วมีแรงขายออกมาแต่ไม่หลุดแนวรับของกราฟ 15 นาที ก็เข้าสู่การเด้งขึ้นในกราฟ 15 นาที เมื่อเด้งขึ้นไปชนแนวต้านด้านบน ก็มีแรงขายออกมาอีก แสดงว่าแรงขายยังไม่หมดต้องเกิดการ sub อีก 1 ชุดแล้วรอดูแรงขายว่าเริ่มเบาลงรึยัง ถ้าแรงขายเริ่มอ่อนแรง และฝั่งซื้อเริ่มสร้างฐานได้ กราฟก็จะเริ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ถ้าฝั่งขายหมดแรงฝั่งซื้อก้จะดันราคาขึ้นไปเรื่อยๆได้ตามรูป

 
จังหวะ มีแรงขายออกมาที่แนวต้านในกราฟ H1


จังหวะที่ sub แรงขายแล้วเริ่มอ่อนแรงฝั่งซื้อเริ่มสร้างได้ที่แนวรับสำคัญ ก็จะเป็นจังสร้างเทรนขาขึ้นรอบใหม่ในฝั่งขาขึ้นอีกครั้ง ตามคลื่นที่ยังขึ้นไม่ครบในกราฟ H1
 
สัญญาณการเปลี่ยนเทรน

วันศุกร์, กรกฎาคม 17, 2563

ช่วงบีบอัด เพื่อเปลี่ยนเทรน

ช่วงบีทอัดเพื่อเลือกทาง จะเกิดกรอบ sideway ขนาดใหญ่ วิ่งขึ้นลงในกรอบ มีลักษณะดังนี้
  1. ช่วงแรกของการชนแนวต้านจะเป็นช่วงของขาลง high ต่ำลงเรื่อยๆ
  2. เมื่อกราฟลงมาถึงจุดที่เป็นแนวรับสำคัญ ที่มี demand  เพียงพอที่จะกลับตัวได้ก็จะเห็นการบีบอัดของแท่งเทียนผ่านแนวรับและแนวต้าน
  3. ราคาเกิดทะลุไปทางไหนทางหนึ่ง เป็นการเลือกทางของกราฟ
  4. ถ้าอยากรู้ว่า ก่อนการบีบอัดกราฟจะวิ่งไปทางไหน ต้องไปนับคลื่น และดูเทรนของกราฟก่อนว่าเทรนเป็นเทรนอะไร  และเป็นคลื่นถ้าเทรนยังขึ้นอยู่ และคลื่นยังขึ้นไม่ครบ ทิศทางเมื่อทะลุกรอบแล้วก็จะวิ่งขึ้นตามเทรนเดิมเสมอ 

กราฟ super ช่วงบีบอัดเพื่อเลือกทาง


ตัวอยา่งหุ้น PSL ช่วงลงมาที่แนวรับ แล้วเกิดการบีบตัวเพื่อที่จะเปลี่ยนเทรนที่แนวรับสำคัญ

กราฟ 4 T/F กราฟ 15 นาทีแสดงช่วงบีบอัดเพื่อเลือกทาง


ตัวอย่างหุ้น PRM ช่วงบีบตัวเพื่อขึ้นต่อตามเทรนเดิม

หุ้น PRM 4 T/F


หุ้น PTG ช่วงบีบตัวในกรอบเพื่อเลือกทาง

หุ้น PTG 4 T/F




Tfex 16-07-20

เด้งขึ้นแล้วลงต่อจาก T/F H1
  • สัญญาณ T/F 1 นาทีเกิดสัญญาณเปลี่ยนเทรนของขาลง
  • T/F 5 นาที ขึ้นชนแนวต้านแล้วผ่านไม่ได้ก็เกิดการทำคลื่น 1 ย่อ 2
  • T/F 15 นาที ชนแนวต้านแล้วผ่านไม่ได้เช่น แล้ว RSI ลงทะลุ เส้น 50 ลงไป 

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที

จังเด้งขึ้นที่แนวรับเมื่อลงมาครั้งแรก ใน T/F H1

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


ขึ้นไปแล้วผ่านแนวต้านไม่ได้ก็กลับตัวลงมาที่แนวรับเดิม

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


ลงมาแล้วยืนได้ที่แนวรับของ H1 และกลับตัวได้ ก็จะเป็นจังหวะของการขึ้นรอบ 2

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


    จังหวะ sub แรงขายใน T/F  5 และ 15 นาที

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที


เมื่อ sub แรงขายเสร็จแล้วที่แนวรับไม่หลุด ก็จะเริ่มเด้งขึ้นอีกครั้งจากแนวรับของฝั่งขาขึ้น

กราฟ 4 T/F 1,5,15,H1 นาที




วันพฤหัสบดี, กรกฎาคม 16, 2563

Tfex 16-07-20

จังหวะกลับตัวใน T/F H1
  1. ดูสัญญษณซื้อจาก 1 นาทีเงื่อนไข
          - RSI ต้องอยู่เหนือ เส้น SMA และกำลังวิ่งขึ้นตัดเส้น RSI 50
          - MACD เกิดการแท่งเขียวเหนือ 0 และไม่ลงมาตัด 0 เป็นจังหวะของการทำคลื่น 1 และ 2

      2. ดูสัญญาณจาก T/F 5 นาทีต้องสอดคล้องกับ T/F 1 นาที
      3.ดูสัญญาณซื้อจาก T/F 15 นาทีจะเห็นสัญญารการกลับตัวจาก RSI และ MACD
      4. ดู T/F H4 ว่าเป็นจังหวะกลับตัวด้วยหรือไหม




จังหวะหลุดแนวรับแล้วดึงกลับ เป็นจังหวะกลับตัว
  • ให้ดูแนวรับจาก T/F 5 นาทีว่าหลุดแนวรับไหม ดู MACD และ RSI  ถ้าไม่หลุดก็ยังขึ้นอยู่
  • ถ้ามีแรงมากมากๆ แนวรับให้ใช้ เส้น 30 ของ กราฟ 1 นาที



จังหวะเปลี่ยนเทรนเป็นขาลง
  • เกิดสัญญาณการเปลี่ยนเทรนที่ T/F 1 นาทีเพราะไม่สามารเด้งขึ้นเหนือแนวต้านของขาลงได้
  • T/F 5 นาทีเกิดการทำคลื่น 1 และย่อ 2 ที่แนวรับ
  • T/F 15 นาที ขึ้นติดแนวต้านด้วยคลื่น 3 ย่อ 4 แล้วไปต่อไม่ได้
  • T/F H1 ขึ้นคลื่นแล้วติดแนวต้านไปต่อไม่ได้ ก็เปลี่ยนเป็นขาลงในช่วงต้นเทรน




วันศุกร์, กรกฎาคม 10, 2563

TFEX 10-07-20 สัญญาณขาลง

สัญญาณการเปิด Short ของพรานล่าหุ้น ต้องเกิดสัญญาณ 3 อย่างพร้อมกัน
  1. สัญญาณจากแท่งเทียนตัด SMA 7 
  2. สัญญาณจาก RSI ตัด SMA 9 และ 1 นาทีขึ้นทะลุเส้น 50 ใน T/F 1 นาที
  3. สัญญาณจาก MACD ต้องเกิดแท่งแดงในโซนที่ต่ำกว่า 0 ถ้าาขึ้นก็ต้องเกิดแท่งเขียว ที่เหนือเส้น 0
  4. กราฟ 5 นาที RSI ต้องตัด SMA 9 ด้วยเช่นกัน 

ตัวอย่างที่ 1 รูปถาพของกราฟ TFEX เกิดสัญญาณขาลงใน T/F 1 นาที ตามเงื่อนไข
  • แท่งเทียนตัด SMA 7 ลงมาใน T/F 1 นาที
  • RSI อยู่ใต้เส้น SMA 9 และทะลุเส้น 0 ลงมา
  • MACD เกิดแท่งแดงในโซนที่ต่ำกว่า 0  
 
กราฟ 1นาทีเกิดสัญญาณขาลง


ตัวอย่างที่ 2 รูปช่วงบ่ายเกิดสัญญาณของขาลง ในกราฟ 1 นาที เป็นจังหวะเล่นสั้นๆได้



ตัวอย่างที่ 3 เกิดสัญญาณขาลงในกราฟ 1 นาทีตาม T/F H1 ที่ยังเป็นขาลงอยู่



ตัวอย่างที่ 4 รูปที่เกิดสัญญาณขาลงจากกราฟ 1 นาทีเช่นกัน


ตัวอย่างที่ 5 รูปเกิดสัญญาณของขาขึ้นในกราฟ 1 นาทีแต่ภาพโดยรวมยังเป้นการเด้งขึ้นจากแนวรับของ H1 ที่มีปริมาณ demand จำนวนมาก หรือ (แรงซื้อ)

กราฟ 4 T/F เกิดสัญญาณซื้อที่ T/F 1 นาที



วันพฤหัสบดี, กรกฎาคม 09, 2563

มุมมองความแตกต่างของเทรดเดอร์ ที่สามารถเทรดแล้วได้เงิน

ข้อแตกต่างของเทรดเดอร์ที่จะประสบความสำเร็จ ในมุม " พรานล่าหุ้น "
  • การวิเคราะห์กราฟ กราฟเหมือนกันต่างตรงที่คนดู และ รูปแบบการวิเคราะห์ ระบบเทรด ของแต่ละคน
  • จังหวะในการออก order ต้องมีความแม่นยำสูง
  • จังหวะเข้าต้องถูกมากกว่าผิด
  • ต้องรู้ว่าจัก pattern ของกราฟ และ โซนการเทรดของแต่ละรูปแบบ
  • ระบบการเทรดต้องสอดคล้องไปกับ ธรรมชาติ ของกราฟ
  • รู้จักแนวรับแนวต้าน ที่ถูกต้อง 
  • รู้จักรูปแบบการเคลื่อนที่ของกราฟ ผ่านแรงซื้อและแรงขาย เป็นอย่างดี

เรื่องจิตใจของเทรดเดอร์
  • ถ้าเข้าแล้วผิดทาง ต้องสามารถควบคุมความเสี่ยงนั้นให้เสียหายน้อยที่สุด
  • จิตต้องนิ่ง รอจังหวะที่ถูกต้องได้
  • จิตใจต้องหนักแน่นในเป้าหมาย และค่อยๆเดินไปอย่างที่ละนิดอย่างมั่นคง
  • ตัดสินใจได้อย่างเด็ดขาดไม่ลังเล

ในเรื่องการพัฒนา ตนเอง
  1. ต้องรู้ครอบคุลม
  2. ต้องรู้ลึก

หลักการวิเคราะห์กราฟ
  1. คลื่นการเคลื่อนที่ อยู่ในช่วงของคลื่นไหน
  2. แรงซื้อ แรงขาย ที่แนวรับ แนวต้านนั้นๆ
  3. pattern กราฟที่เคลื่อนที่ ผ่านแรงซื้อและขายในจุดนั้นๆ
  4. ลักษณะของการทำ dow ขาขึ้น หรือ ขาลง
  5. ลักษณะโดยรวมเกิดกราฟเกิด pattern อะไร และจะลง หรือ ขึ้น
  6. หาจุดเปลี่ยนเทรนให้เจอ
  7. รอในตำแหน่งที่ใช่

ลำดับขั้นตอนการวิเคราะห์ภาพใหญ่ลงไปภาพเล็ก ฉบับ พรานล่าหุ้น



สัญญาณเปลี่ยนเทรนในกราฟ 1 นาที


สัญญาณการเปลี่ยนเทรนจาก กราฟ 1 นาที ขาขึ้น
  • ลงชนแนวรับระดับ H1
  • เกิดการเด้งขึ้นลง sub แรงขายแล้วเกิด dow ขาขึ้นไปที่แนวต้าน
  • T/F 5 และ 15 นาที สอดคล้องกับ T/F 1 นาที
รูปตัวอย่างการเด้งขึ้นจากแนวรับของ H1 ข้อสังเกตุ
  • เกิดการ sub แรงขายแล้วเกิด dow ขาขึ้นไปที่แนวต้าน
  • เมื่อถึงแนวต้านแรงขายน้อยเป็นลักษณะของการที่จะ brake ทะลุแนวต้านได้
  • เกิด double bottom ที่เกิดกราฟ 15 นาทีทำให้การลงครั้งนี้สิ้นสุดลงเพราะมันจะต้องเด้งขึ้นก่อน
  • macd ในกราฟ 15 นาทีลงชนแนวรับเกิด double bottom เช่นกันเป้นลักษระของการจบขาลงและจะเกิดการเด้งเพื่อเปลี่ยนเทรนต่อไป

sub  แรงขายขาขึ้นกราฟ 1 นาที


ลักษณะของขาลงในกราฟ 1 นาที
  • เกิดการเด้งขึ้นชนแนวต้านแล้วไม่ผ่านขึ้นครบคลื่นในกราฟ 1 นาที
  • เกิดการทำ dow ขาลงที่แนวต้าน
  • T/F ใหญ่ 5 และ 15 นาที สอดคล้องกับกราฟ 1 นาที

ลักษณะขึ้นติดแนวต้านแล้วกลายเป็นขาลงในกราฟ 1 นาที




สัญญาณซื้อขายในกราฟ 1 นาที

สัญญาณการเปลี่ยนเทรน จะถูกส่งออกมาจากกราฟ 1 นาทีก่อนเสมอ เพียงแต่มันจะเป็นสัญญาณจริงหรือหลอกอันนี้ต้องพิจารณาออกเป็นข้อๆ
  • ถ้า T/F 1 นาทีเกิดสัญญาณแล้วสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับ T/F ใหญ่
  • แนวต้านสำคัญที่จะเปลี่ยนเทรนได้ต้องมาจาก T/F ที่ใหญ่กว่าเสมอ
  • ส่วนใหญ่ T/F จะเกิดการ sub แรงขายก่อนเสมอก่อนเปลี่ยนเทรน
  • อ่านเทรนหลักจาก T/F แล้วเข้าไปเฝ้าดูพฤติกรรมตามแนวรับแนวต้านใน T/F ที่เล็กกว่าจะเห้นภาพได้ละเอียดกว่า
  • ถ้า 1 นาทีเกิดสัญญาณซื้อ แต่ขัดแย้งกับ T/F ใหญ่ต้องสันนิษฐาน ก่อนว่ามันจะเคลื่อนที่ตาม T/F ใหญ่เพียงแต่ใน 1 นาทีมันจะเด้งขึ้นไปชนแนวต้านของ T/F ใหญ่ถ้าไม่ผ่านมันก็จะวิ่งไปตาม T/F 
  • ใหญ่ แต่ถ้ามันผ่านได้ T/F ผ่านได้ T/F ก็จะยอมเปลี่ยนทิศทางตาม T/F เล็ก

ตัวอย่างกราฟที่เป็นขาลง เกิดสัญญาณในกราฟ 1 นาทีก่อน
สัญญาณขาลงแแบบที่ 1
 

สัญญาณขาลงแบบที่ 2


สัญญาณขาลงแบบที่ 3


สัญญาณขาลงแบบที่ 4


สัญญาณขาลงแบบที่ 5