หน้าเว็บ

วันอังคาร, ตุลาคม 29, 2562

จังหวะ short ขาลงในหุ้น

3 รูปแบบในการหาจังหสะ put หรือ ที่ดีในกราฟหุ้น
  1. รูปแบบ ลงแรงแล้วเด้งที่แนวรับ แต่ Volume น้อยติดแนวต้านของฝั่งอยู่
  2. รูปแบบ high ต่ำลงเรื่อยๆ
  3. ขึ้นชนแนวต้านระดับ day และ week ในกราฟขาขึ้น เล่นสั้นเท่านั้น

ตัวอย่างกราฟหุ้นทั้ง 3 แบบ

แบบที่ 1

กราฟขาลงแบบที่ 1
แบบที่ 2

กราฟชาลงแบบที่ 2

กราฟขาลงแบบที่ 2
แบบที่ 3 

รูปแบบที่ 3 ชนแนวต้านระดับ day
รูปแบบที่ 3 ขึ้นชนแนวต้านระดับ day
รูปแบบที่ 3 ชนแนวต้านระดับ week 
รูปแบบที่ 3 ชนแนวต้านระดับ day




วันเสาร์, ตุลาคม 19, 2562

คลื่น 4 ใน Elliott wave Forex

ลักษณะคลื่น 4 ในมุมมองเพจพรานล่าหุ้น 

ขาขึ้น
คือ การ sub แรงขายจากแนวต้านที่มี supply จำนวนมาก ใน t/f ใหญ่ ระดับ day, week, month จะมีแรงขายเพียงพอที่จะทำให้กราฟ ย่อลงชั่วคร่าวได้ ก่อนที่จะกลับตัวที่แนวรับแล้วขึ้นต่อได้

ขาลง
คือ การ sub แรงซื้อจากแนว demand สำคัญ ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นขาขึ้น และแรงขายยังมีอยู่อิทธิพลเหนือแรงซื้ออยู่

การสังเกตุพฤติกรรมของคลื่น 4 ส่วนใหญ่ก่อนกราฟจะกลับตัว

  1. จะเห็นการ side way ออกข้างนานมาก swing ขึ้นลงในกรอบก่อนแล้วก็จะเคลื่อนที่ไปตามิศทางเดิมเป็นครั้งสุดท้าย
  2. เห็นการลงที่สั้นลงเรื่อยตามแนวรับต่างๆ
  3. เกิดการลงแรงๆ บวก volume จำนวนมากในคลื่น 3 ลงมาติดแนวรับแล้วเกิดการเด้งขึ้นของคลื่น 4 
  4. volume ในคลื่น 4 จะไม่ค่อยเยอะเพราะจะเกิดสู้กันรหว่างแรงซื้อและแรงขายในกรอบสั้นๆ   

    cycle ของคลื่นและ sideway ของคลื่น 4




ลักษณะกราฟของคลื่น 4 จะประกอบไปด้วย 3 โซนหลักๆ
  1. โซนชุดขาลง
  2. โซนชุดกลับตัว อาจจะมากกว่า 1 ชุด และ ชุด sub แรงขาย
  3. โซนชุดสร้างเทรนขาขึ้น

โซนของคลื่น 4
ปกติในคลื่น 4 ที่จะขึ้นต่อจะถูกแรงขาย ขายจากแนวต้านสำคัญเปลี่ยนเป็นขาลงไปที่แนวรับสำคัญ แล้วเมื่อชนแนวรับสำคัญ ก็จะมีแรงซื้อกลับมาแล้วเริ่มเข้าสู่โซนของการ sub แรงขาย เมื่อ sub แรงขายเสร็จก็จะเปลี่ยนเป็นโซนของการส้รางเทรนขาขึ้นรอบใหม่ต่อไป

ภาพองค์ประกอบภายในของคลื่น  4

 1 ขาลง + 2 sub แรงขาย + 3 เปลี่ยนเป็นขาขึ้น


ตัวอย่างจากกราฟจริงของคลื่น 4

ตัวอย่าง คลื่น 4
คลื่น 4 แบบที่ 2
คลื่น 4 แบบที 3
คลื่น 4 แบบที่ 6
คลื่น 4 แบบที่ 7
คลื่น 4 แบบที่ 8
คลื่น 4 แบบที่ 9
คลื่น 4 แบบที่ 10





วันจันทร์, ตุลาคม 07, 2562

ลักษณะของหุ้นขาลง

ปัจจุบัน set index sideway อยู่ในกรอบ ยังไม่เลือกทาง
วิธการเทรดจึงต้องปรับ รูปแบบการเทรดให้เหมาะกับสถานการณ์ไม่งั้นการเทรด อาจจะไม่ได้เงินเลยก็ได้

ภาพ set day และ week

 T/F day

T/F week
จากรูปใน t/f จะเห็นว่า set วิ่งอยู่ในกรอบ sideway ฉะนั้นการเทรดจึงต้องกำหนดแผนการเทรดให้เหมาะสมกับช่วงเวลของ set ด้วย
การเทรดที่เหมาะสม คือ

  • ลงมาที่แนวรับซื้อ ขึ้นไปชนแนวต้านมีแรงขายหลุดแนวรับสำคัญออก
ถ้าไม่เทรดแบบนี้อาจจะเจอกราฟที่ขึ้นแล้วยืนไม่ได้บนแนวรับสำคัญแล้วมีแรงขายออกมาราคากลับตัวลงมาที่เดิม ทำให้การเทรดทำกำไรไม่ได้



ใช้การเทรดแบบต้นเทรนของกราฟที่เริ่มจะเปลี่ยนเป็นขาขึ้น คือ
  • เมื่อกราฟวิ่งขึ้นไปชนแนวต้านสำคัญก็จะมีแรงขายออกมา
  • จังหวะเข้าที่ฐานแล้วออกเมื่อชนแนวต้าน แล้วยืนไม่ได้มี volume ขายจำนวนมาก
  • เล่นใน t/f เล็กระดับ 5 -15 นาที โดยใช้ t/f H1 คุมเทรนไว้
  • เล่นสั้นไปเรื่อยๆ จนกว่า H1 จะเริ่มยืนได้ หรือ กราฟเปลี่ยนเป็นขาลงต่อไป

กราฟของหุ้นที่เริ่มจะเปลี่ยนเป็นขาขึ้น


แรงขาขจากกราฟ week
กราฟ H1 มีแรงซื้อที่แนวรับระดับ week 
กราฟ 5 นาที


ตัวอย่างหุ้นใน set 100 ที่เปลี่ยนเป็นขาขึ้นแล้วเมื่อกราฟระดับ week ขึ้นไปชนแนวต้านสำคัญ ก็จะมีแรงออกมาแล้วเปลี่ยนเป็นขาลงทันที

SUPER
CK
TU


TOP
CKP
CKP Day

ลักษณะของ sideway แล้วเปลี่ยนเป็นขาลง ไม่ใช่ขาขึ้น จุดสังเกตุ
  • ขึ้นครบคลื่น 3,4,5
  • ติดแนวต้านสำคัญแล้วมีแรงขาย + volume ออกมา
  • เกิด down ขาลง ไม่สามรถทำ down ขาขึ้นได้

TPIPL H1


วันพฤหัสบดี, ตุลาคม 03, 2562

เก็บกราฟ forex

23-02-20

H4

M5


09-02-20
M1
M5
M15
H1


31-01-20
xau  แกะรอยรอบการซื้อและขาย
day
H4
H1
M15

30-01-20
XAU แกะรอยสัญญาณของการกลับตัว

H4


H1

15 M

5 M


XAU แกะรอยสัญญาณของขาลง จาก 15 นาที และ H1
15 M
H1


XAU ความสัมพันธ์ของ T/F 07/12/19
Week

day
H4
H1
15M

ระบบเทรด FX


1.เล่นตาม cycel ลงจบคลื่นฝั่งลง และเริ่มขึ้น
2.เห็น การทำ double bottom  หยุดการยืดฝั่งลง
3.เห็นการ sub แรงขาย  เพื่อเตรียมตัวขึ้น
4. เริ่มทำราคาฝั่งขึ้น โดยแรงขายลดลง แรงซื้อเริ่มมากขึ้น เริ่มทำการยก low ขึ้น
5.เห็นการทำ 1 ย่อ 2 low ยก ในรูปแบบ falt ที่ยังไม่ยืดออก
6.เทรดสั้นดูเทรดจาก H1 เป็นหลักและตามแนวรับแนวต้าน ของ H1 ค่อยไปดูพฤติกรรมการขึ้นลงใน M5 เพราะเทรดสั้นต้องมี t/f อ้างอิงเพื่อที่จะกินตาม t/f นั้น ใช้ตัวเองมาดูเทรดไม่ได้ นอกจากจุดเปลี่ยนเทรน
7.ไล่เทรนหลักมาก่อน month ,week, day H4 ว่าเป็นเทรนอะไร แล้วค่อยไปดูประเมินใน H1
8.แยกเทรนใน ออกดังนี้
  • up trend
  • down trend
  • sidewad
9.กำหนดแผนการเทรด ตามระบบเทรดของเรา
10. มองภาพจากเทรนใหญ่ให้ออกซะก่อน แล้วค่อยไปวางแผนเทรดที่ t/f เล็ก
11. ต้องรอให้ กราฟเริ่มมี momentum ซะะก่อนจึงจะเริ่มมองหาจุดเทรด ไม่งั้นต้องเล่นสั้นๆเท่านั้น และความเสี่ยงจะเกิดขึ้นทันที

ลำดับของการอ่านกราฟเพื่อหาจังหวะเข้าสถานะ

  1. รู้คลื่นจาก t/f ใหญ่
  2. รู้ pattern ของ คลื่นนั้นๆ
  3. รู้จุดเปลี่ยนเทรน
  4. หาจังหวะซื้อ หรือ เมื่อ เกิดการเปลี่ยนเทรน


21-09-19

ลักษณะของการเด้งขึ้นแล้วลงต่อ

NZD USD M5

NZD/USD M5
NZD H1

NZD/USD M5
ลักษณะของการลงมาที่แนวรับแล้วกลับตัวเปลี่ยนเป็นขาขึ้น

NZU USD M5

XAU USD M5
ลักษระของกราฟ week XAU  จังหวะเด้งขึ้นเมื่อลงมาชนแนวรับ
หลังจากลงมาชนแนวรับของ week
ขยายภาพจาก H4
ขยายภาพจาก H1

ภาพจาก M15

ภาพจาก M5
จังหวะกลับตัวพฤติกรรมแรงซื้อและแรงขาย ของกราฟขาขึ้นใน M5



   





NZD USD
อธิบายระบบเทรด

NZU USD